การคิดและการตัดสินใจเชิงวิทยาศาสตร์

Scientific Thinking and Decision Making

1. เข้าใจกระบวนการคิดและการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ 
2. สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารอย่างมีเหตุผล 
3. เข้าใจกระบวนการตัดสินใจโดยใช้ตรรกศาสตร์และการประยุกต์ใช้หลักการคิดทางวิทยาศาสตร์ เพื่อแก้ปัญูหาในชีวิตในประจำวัน 
4. มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ 
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับลายละเอียดเนื้อหาของวิชาที่ให้นักศึกษาจำเป็นต้องเรียนรู้ เพื่อใช้เป็นองค์ความรู้พื้นฐานสำหรับรายวิชาที่มีความใกล้เคียงกับรายวิชานี้และนำความรู้ที่ได้เรียนไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
กระบวนการคิด การแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารและการให้เหตุผล  กระบวนการตัดสินใจโดยใช้ตรรกศาสตร์ การประยุกต์ใช้หลักการคิดทางวิทยาศาสตร์ เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน
2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
(1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม และจริยธรรม 
(2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 
(3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 
(4) เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย มีความรับผืดชอบ เน้นเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา สอดแทรกส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม จิตสาธารณะ ปลูกจิตสำนึกอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา
(1)  การตรงต่อเวลาเข้าชั้นเรียน ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามกำหนด และการเข้าร่วมกิจกรรม
(2) ความมีวินัยและเอาใจใส่ของนักศึกษา
(3) ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
(4) ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
(1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา  (2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา  (3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ใช้รูปแบบการสอนที่หลากหลายโดยเน้นเป็นสำคัญ ใช้การบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน มีการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฏิบัติ
(1) การทดสอบย่อย
(2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
(3) รายงานที่นักศึกษาจัดทำ
(4) งานที่ได้มอบหมาย
(5) การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
(6) แฟ้มสะสมผลงาน
(1) มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ และมีความคิดริร่มสร้างสรรค์ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
(2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ใช้รูปแบบการสอนที่หลากหลายโดยเน้นเป็นสำคัญ ใช้การบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน มีการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฏิบัติ
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น
(1) บทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
(2) การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ไขปัญญหาในบริบทต่าง ๆ
(3) การนำเสนอราบงานในชั้นเรียน
(4) การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
(1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
(2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
(3) สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
(4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
(1) สอนแบบกิจกรรมกลุ่ม 
 
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น
(1) พฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนอรายงานกลุ่ม
(2) พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
(1) เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
(2) สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์สรุป
สอนด้วยกิจกรรม Active Learing/Flipped Classroom 
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น
(1) ความสารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร
(2) ความสารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล
(3) ความสารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
(4) จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์และวัฒนธรรมสากล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2. 3. 4. 1. 2. 3. 1. 2. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3.
1 GEBSC103 การคิดและการตัดสินใจเชิงวิทยาศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3, 3.3, 5.3 การนำเสนอหัวข้อและการสอบย่อย 2, 3, 6, 11, 12, 16 10%
2 2.3, 3.3, 5.3 การสอบกลางภาค 9 30%
3 2.3, 3.3, 5.3 การสอบปลายภาค 17 30%
4 2.3, 3.3, 4.3, 5.3 งานที่มอบหมาย ตลอดภาคเรียน 20%
5 1.3, 4.3 คะแนนเจตคติ การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบในรายวิชา ตลอดภาคเรียน 10%
. ศรีสุรางค์ ทีนะกุล สมจิต รัตนอุดมโชติ ทรงศักดิ์ นิธิปรีชา สมศักดิ์ เทศสวัสดิ์ และเวชชัย สังข์สาย.(2542). การคิดและการตัดสินใจ. กรุงเทพมหานคร : บริษัทเธิว์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น จำกัด.  2. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2545). การคิดเชิงสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร : ซัคเซสมีเดีย.  3. ทิพย์วัลย์ สีจันทร์. (2546). ­ความคิดสร้างสรรค์ การตัดสินใจ ­ความคิดและการคิด. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.
1. ศรีสุรางค์ ทีนะกุล สมจิต รัตนอุดมโชติ ทรงศักดิ์ นิธิปรีชา สมศักดิ์ เทศสวัสดิ์ และเวชชัย สังข์สาย.(2542). การคิดและการตัดสินใจ. กรุงเทพมหานคร : บริษัทเธิว์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น จำกัด.
1. ศรีสุรางค์ ทีนะกุล สมจิต รัตนอุดมโชติ ทรงศักดิ์ นิธิปรีชา สมศักดิ์ เทศสวัสดิ์ และเวชชัย สังข์สาย.(2542). การคิดและการตัดสินใจ. กรุงเทพมหานคร : บริษัทเธิว์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น จำกัด.
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยแผนกวิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา 
แผนกวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา มีการประชุมอาจารย์ในแผนกวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
แผนกวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของแผนกวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
แผนกวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของแผนกวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าแผนกวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป