สัมมนาทางสถาปัตยกรรม

Seminar in Architecture

เพื่อให้นักศึกษาฝึกฝนทักษะการ Oral Presentation, Discussion, Argument, Critical Thinking กับประเด็นที่สนใจและสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสถาปัตยกรรมในโลกปัจจุบัน  
ไม่มีการปรับปรุง (เพิ่งเปิดวิชาเป็นครั้งแรกโดยอาจารย์ผู้สอนใหม่)
เพื่อศึกษาการสัมมนาเกี่ยวกับปรัชญาและแนวความคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรม พัฒนาการของสถาปัตยกรรมร่วมสมัย ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบและการใช้สอยอาคาร ตลอดจนผลกระทบต่อชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อม
ตามความต้องการของนักศึกษา 4 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ 
-  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
-  มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
-  มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
- สร้างความเข้าในเรื่องระเบียบวินัย และ กฏกติกา ในการเรียน

- เน้นย้ำเรื่องวินัยในการเข้าเรียน การศึกษาด้วยตนเองให้เป็นประจำ สม่ำเสมอ 

- เน้นย้ำความสำคัญของการตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ผ่านการบรรยายที่ทำให้เห็นบทบาทของสถาปนิกที่มีหน้าที่ในการรับผิดชอบต่อสังคม คิดถึงผู้ใช้ที่เข้ามาในอาคาร ออกแบบให้มีคุณภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเนื้อหาในส่วนของมนุษยวิทยาสถาปัตยกรรมและการทำงานแบบเป็นมืออาชีพ
- การซื่อตรงต่อกระบวนการในการออกแบบ คิดเอง ไม่ลอกงานคนอื่นมา หรือหากได้รับแรงบันดาลใจมามีวิธีในการต่อยอดเพื่อพัฒนาให้เป็นของตนเอง
- ข้อสอบเพื่อเข้าใจความหมายของสถาปัตยกรรม
- มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับสถาปัตยกรรม
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาสถาปัตยกรรม
- สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษาในสถาปัตยกรรมกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- จัดการเรียนการสอน ที่นักศึกษาสามารถสอบถามหรือแสดงความคิดเห็นได้ตลอดเวลา 
- จัดการเรียนการสอนโดยใช้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง อัพเดทข้อมูลบรรยาย และใช้กรณีศึกษาที่ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน เป็นสื่อการสอนให้นักศึกษา
- ทำการบรรยายเรื่องบูรณาการข้ามศาสตร์เพื่อให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่างสถาปัตยกรรมและศาสตร์อื่นๆ
- ให้นักศึกษาฝึกปฎิบัติเพื่อเชื่อมโยงทฤษฎีสู่การทำได้จริง
- ประเมินจากผลงานของนักศึกษา
-ประเมินจากความร่วมมือในชั้นเรียน การเสนอความคิดเห็น การโต้แย้งในประเด็นต่างๆ
-  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
- มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
- ให้ Assignment ที่นักศึกษาต้องใช้กระบวนการวิเคราะห์ และสังเคราะห์ อย่างเป็นระบบ
- การบรรยายปลายเปิด กระตุ้นให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์
- แบบฝึกปฎิบัติเชิงออกแบบสร้างสรรค์ เพื่อดูวิธีการคิดอย่างเป็นระบบ 
- ประเมินจากผลงานของนักศึกษา
-ประเมินจากความร่วมมือในชั้นเรียน การเสนอความคิดเห็น การโต้แย้งในประเด็นต่างๆ
- มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
- สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- จัดการเรียนการสอนแบบเดี่ยวและแบบกลุ่ม
- สร้างข้อตกลง และ มารยาทการอยู่ร่วมกันในการเรียน
- สร้างบรรยากาศการเรียนแบบเปิดกว้าง ให้นักศึกษากล้าถาม ตอบ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
- ให้ความสำคัญต่อการโต้ตอบ ปัญหา หรือ คำถามของนักศึกษา ผ่าน Social media อยู่เสมอ 
- ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานของนักศึกษา
- คะแนนการส่งงานและการเข้าร่วมฟังการบรรยายในแต่ละครั้ง
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
- สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
- สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ฝึกทักษะการเลือกใช้สื่อที่เหมาะสมให้สัมพันธ์กับเนื้อหาที่เลือกศึกษา  - ให้ Assignment ที่นักศึกษาต้องใช้กระบวนการสืบค้น ในการแก้ไขปัญหา
- แสดงให้เห็นแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เท่าทันโลก   
- ประเมินจากการเลือกวิธีการนำเสนอผลงานและการวิธีการสืบค้นข้อมูล
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับสถาปัตยกรรมศาสตร์ 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ 3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษาในสถาปัตยกรรมศาสตร์กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2. มีภาวะความเป็นผู้และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 2. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 3. มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BARAT505 สัมมนาทางสถาปัตยกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม - ซื่อตรงต่อแนวความคิดของตนเอง - ให้เครดิตเมื่อนำความคิดของผู้อื่นมาใช้ในการศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 20%
2 ความรู้ - การมีส่วนร่วมในคาบเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 ทักษะทางปัญญา -ประเมินจากผลงานของนักศึกษา -ประเมินจากการแสดงคความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ - ประเมินผ่านความร่วมมือของนักศึกษาผ่านการทำงานกลุ่ม - ประเมินจากผลงานของนักศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 20%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - ประเมินผ่านการใช้โปรแกรมในการนำเสนองาน ตลอดภาคการศึกษา 20%
ความรู้จากโลกออนไลน์ที่น่าเชื่อถือได้
ไม่มี
ไม่มี
- สรุปการเรียนการสอนปลายภาค
- แบบประเมินความพึงพอใจผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา 
- แบบประเมินความพึงพอใจผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
- Discuss หลังคาบเรียน
- ไม่มี (เป็นวิชาที่เปิดสอนโดยอาจารย์ใหม่)
- ข้อมูลจากการประเมินความพึงพอใจผู้สอนของนักศึกษา
- ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการสอนจากการประชุม กลางภาคเรียน
- ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการสอนจากการประชุม ปลายภาคเรียน
- ดำเนินการทบทวนทุกปีการศึกษาในกรณีที่พบปัญหา และทุก 5 ปีตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของสกอ.
- นำเสนอสรุปผลการสอนและการประเมินโดยนักศึกษาแก่ที่ประชุมหลักสูตรเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาในปีการศึกษาถัดไป