ชีวเคมีทางการเกษตร

Biochemistry for Agriculture

1.1  มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับเซลล์ และองค์ประกอบของเซลล์ เอ็นไซม์ โครงสร้างและสมบัติของสารชีวโมเลกุล เมทาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีนและกรดนิวคลีอิก การถ่ายทอดข้อความทางพันธุกรรม ฮอร์โมนที่ควบคุมเมเทโบลิซึมในสิ่งมีชีวิต
1.2  ประยุกต์ใช้และบูรณาการความรู้เกี่ยวกับชีวเคมีทางการเกษตรในทางวิชาชีพได้
1.3  มีทักษะการปฏิบัติด้านเทคนิคเกี่ยวกับชีวเคมีทางการเกษตร
1.4  มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.5  สามารถสืบค้นและศึกษาความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ต่างๆ ที่เกี่ยวกับชีวเคมีทางการเกษตรได้
เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเท่าทันการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน ทั้งนี้ได้มีการติดตามความก้าวหน้า และการยกตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับแนวโน้มในสาขาเกี่ยวข้องตามยุคสมัย โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ web based เพื่อสามารถเชื่อมโยงความรู้ในรายวิช
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับเซลล์ และองค์ประกอบของเซลล์ เอ็นไซม์ โครงสร้างและสมบัติของสารชีวโมเลกุล  เมทาโบลิซึมของ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีนและกรดนิวคลีอิก การถ่ายทอดข้อความทางพันธุกรรม ฮอร์โมนที่ควบคุมเมทาโบลิซึมในสิ่งมีชีวิต
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์ เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำนอกชั้นเรียน สัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง ผ่านช่องทาง ดังนี้
    3.1  อาคารสาขาวิทยาศาสตร์ ห้อง 821 โทร. 0861839988  วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 16.00 - 17.00 น.
    3.2  e-mail : visutthithada_runvi@hotmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
    3.3  Facebook : Aj Viran เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
    3.4  line : kobzazaa เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
     1.1.1 มีจิตนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
     1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
     1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
     1.1.4 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
     1.2.1 การจัดกิจกรรมเข้ากลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในชั้นเรียน
     1.2.2 การเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง
     1.2.3 การเรียนรู้โดยมอบหมายงานหรือโจทย์ปัญหาแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม
     1.2.4 การทำข้อสอบหรือแบบทดสอบ
     1.2.5 ประพฤติตนเป็นแบบอย่าง
     1.3.1 การเช็คส่งงานที่มอบหมาย
     1.3.2 แบบสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
     1.3.3 ใบเช็คชื่อการเข้าเรียน
     1.3.4 การไม่ทุจริตในการสอบ
     2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
     2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
     2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
     2.2.1 การจัดกิจกรรมเข้ากลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดมสมองและนำเสนอผลงาน
     2.2.2 การเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง (การทดลองในห้องปฏิบัติการ, แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน, เวปไซต์)
     2.2.3 การเรียนรู้จากการศึกษาด้วยต้นเองโดยใช้สื่อผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
     2.2.4 ข้อสอบหรือแบบทดสอบ 
     2.3.1 แบบสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน (ทักษะปฏิบัติการทดลอง)
     2.3.2 การทำแบบทดสอบหรือการตอบคำถาม
     2.3.3 การประเมินคุณภาพของงานที่มอบหมาย (สมุดบันทึก, สมุดรายงานผลการทดลอง )
     3.1.1 มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
     3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
     3.2.1 การเรียนรู้จากการแสดงความคิดเห็นหรือการอภิปรายรายบุคคลหรือรายกลุ่มเพื่อแก้โจทย์จากตัวอย่างกรณีศึกษาที่กำหนดให้หรือประเด็นปัญหาที่น่าสนใจ
     3.2.2 การมอบหมายงาน กิจกรรมหรือโครงการที่มีการบูรณาการระหว่างรายวิชากับชีวิตประจำวันหรือวิชาชีพ
     3.2.3 การจัดกิจกรรมเข้ากลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดมสมองจากโจทย์ปัญหาที่มอบหมายและนำเสนอผลงาน
     3.3.1 การประเมินระบบการคิด วิเคราะห์โจทย์ 
     3.3.2 แบบสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน (การวางแผนในการคิดและตัดสินใจแก้โจทย์ปัญหาที่เกิดขึ้น)
     3.3.3 การประเมินคุณภาพของงานที่มอบหมาย (มีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์)
     4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
     4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
     4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
     4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
     4.2.1 การเรียนรู้จากปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้สอน และผู้เรียนกับสังคม
     4.2.2 การจัดกิจกรรมเข้ากลุ่ม ที่มีการทำงานเป็นทีมเพื่อแก้ไขโจทย์ปัญหาหรือทำการทดลองในห้องปฏิบัติการ
     4.3.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำและร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนในสถานการณ์ที่กำหนด (การทำงานเป็นทีม, การยอมรับฟังความคิดเห็น, การปรับตัวเข้ากับผู้อื่นและสังคม)
     4.3.2 การประเมินคุณภาพของงานที่มอบหมาย
      5.1.1 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
      5.1.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
      5.1.3 ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ใช้ความสามารถในการเลือกสารสนเทศเพื่อการสืบค้น ศึกษา และวิเคราะห์ข้อเท็จจริงในประเด็นปัญหาที่น่าสนใจ นำมาสรุปและนำเสนอเนื้อหาหน้าชั้นเรียนให้เหมาะสมกับผู้ฟังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ใช้ความสามารถในการเลือกสารสนเทศเพื่อการสืบค้น ศึกษา และวิเคราะห์ข้อเท็จจริงในประเด็นปัญหาที่น่าสนใจ นำมาสรุปและนำเสนอเนื้อหาหน้าชั้นเรียนให้เหมาะสมกับผู้ฟัง
     5.3.1 แบบสังเกตพฤติกรรมทำกิจกรรมในชั้นเรียน (การเลือกใช้สารสนเทศที่เหมาะสม)
     5.3.2 การประเมินคุณภาพของงานกลุ่มที่มอบหมาย
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม 5.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
1 BSCCC111 ชีวเคมีทางการเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม, 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม - การเข้าชั้นเรียน - ความรับผิดชอบส่งงานที่มอบหมายและความสำเร็จตามกำหนดเวลา ทุกสัปดาห์ 10%
2 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา, 3.1 มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ, 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ, 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม - การแสดงพฤติกรรมในชั้นเรียน (ทักษะปฏิบัติการทดลอง, การทำงานเป็นทีม, การยอมรับฟังความคิดเห็น, การปรับตัวเข้ากับผู้อื่นและสังคม, ระบบการคิดวิเคราะห์โจทย์, การวางแผนในการคิดและตัดสินใจแก้โจทย์ปัญหาที่เกิดขึ้น) - การแสดงความคิดเห็น - การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 20%
3 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา, 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม, 5.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม - การทดสอบย่อย - การถาม-ตอบปากเปล่า 3,5,7,11,13,15 10%
4 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษ, 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ, 5.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม - คุณภาพของงานที่มอบหมาย (สมุดบันทึก, สมุดรายงานผลการทดลอง, การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน, มีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์) - การเลือกใช้สารสนเทศที่เหมาะสม 1,3,6,11,14,16 20%
5 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม, 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา, 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ การสอบกลางภาค 8 20%
6 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม, 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา, 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ การสอบปลายภาค 17 20%
1) คณาจารย์แผนกเคมีและชีวเคมี (2559). เอกสารประกอบการสอนวิชาชีวเคมีทางการเกษตร พิมพ์ครั้งที่ 2 ฉบับปรับปรุงแก้ไข. สาขาวิทยาศาสตร์ มทร.ล้านนา น่าน, 210 หน้า
1) นิโลบล เนื่องตันและคณะ (2542) ชีวเคมี  ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
2) มนตรี จุฬาวัฒนฑลและคณะ (2542) ชีวเคมี  ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล
3) ดาวัลย์ฉิมภู่ (2549). ชีวเคมี. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พิมพ์ครั้งที่ 2
4) Roskoski, R.  (1996) Biochemistry, 1st ed,  W.B. Saunders Company, USA
5) Cheswarth, J.M., Sruchbury T., and Scaife JR., (1998). Agricultural Biochemistry. St.Edmundsbury Press, Suffolk.
6)  McKee, T.  (1996). Biochemistry; an Introduction, 1st ed,  A Time Mirror Company, USA
7) Voet, D.  (2004) Biochemistry, 3nd ed,  Wiley International Edition, USA
1)  คณาจารย์ (2542) คู่มือการสอนชีวเคมี 1 ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
2)  Devlin, TM. (1997) Biochemistry with clinical correlations, 4th ed,  Wiley-Liss, New York
3) Marks, DB.  (1996) Basic Medical Biochemistry; a clinical approach, 1st ed,  William and Wilkins Company, USA
4) International Service for the Acquisition of Agri-Biotech Applications. (2014). ISAAA brief 49-2014: Executive summary. Retrieved from http://www.isaaa.org/resources /publications/briefs/49/executivesummary/default.asp.
5) Brookes, G., & Barfoot, P. (2014). GM crops: global socio-economic and environmental impacts 1996–2012. Dorchester, UK: PG Economics Ltd. p. 11. Retrieved from http:// www.pgeconomics.co.uk/ pdf/2014globalimpactstudyfinalreport. Pdf
6) Applications of recombinant DNA technology. (2016). Virtual Learning Environment of the Faculty of Applied Sciences, University of Sri Jayewardenepura. Retrieved from http://www.sci.sjp.ac.lk/vle/pluginfile.php/11386/mod_resource/content/0/Applications_1.pdf.
ให้นักศึกประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง โดยผ่านกิจกรรม ดังนี้
1.1) การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
1.2) แบบประเมินผู้สอน หรือแบบประเมินรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง โดยดูจากผลการเรียนของนักศึกษา เพื่อเป็นแนวทางแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนและรายวิชาให้ทันเหตุการณ์ปัจจุบัน
อาจารย์ผู้สอนต้องติดตามความก้าวหน้าขององค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง (มีการใช้เอกสารประกอบการสอนที่ย้อนหลังไม่เกิน 5 ปี) หรือเข้าร่วมอบรมสัมมนาการจัดกระบวนการเรียนการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้กลยุทธ์และวางแผนปรับปรุงการเรียนการสอน
4.1 การทวนสอบโดยอาจารย์ผู้สอนทวนสอบจากคะแนนสอบหรืองานกิจกรรมหรือโครงการบูรณาการที่มอบหมาย หรือ  
4.2 การทวนสอบโดยให้นักศึกษาประเมินการเรียนการสอนในระดับรายวิชา
4.3 มีกระบวนการทวนสอบ ฯ ในระดับกระบวนวิชา ที่สอดคล้องกับหลักสูตร (มคอ.2 หมวด 4 และหมวด 5) ให้ครอบคลุม ครบถ้วน และตรงตามที่หลักสูตรกำหนด
5.1) ทบทวนและปรับปรุงเนื้อหาที่สอน กลยุทธ์การสอนและจัดหาอุปกรณ์สื่อการสอนให้มีความก้าวหน้าตามยุคสมัย
5.2) การประเมินผลผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอ จากแบบทดสอบย่อย เพื่อจะได้ปรับปรุงกลยุทธ์การสอนให้เหมาะสมตามสถานการณ์
5.3) การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา (ใน มคอ.5) เสนอต่อหลักสูตรเพื่อพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงในภาคการศึกษาต่อไป