เคมีมูลฐานสำหรับวิศวกร

Fundamentals of Chemistry for Engineers

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.      รู้และเข้าใจวิวัฒนาการของทฤษฎีอะตอมและการจัดเรียงอิเล็กตรอน
2.      รู้และเข้าใจเกี่ยวกับตารางธาตุและระบบพิริออดิก แนวโน้มของสมบัติตามตารางธาตุ
3.      รู้และเข้าใจประเภทของพันธะเคมีและการเกิดพันธะ ค่าต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพันธะและโมเลกุล ทฤษฎีที่ใช้อธิบายพันธะโควาเลนต์พันธะโลหะ  แรงระหว่างโมเลกุล
4.      เข้าใจพื้นฐานทางปริมาณสารสัมพันธ์
5.      รู้และเข้าใจเกี่ยวกับสมบัติของแก๊ส ของแข็ง และของเหลว
6.      รู้และเข้าใจประเภทของสารละลาย หน่วยของความเข้มข้น และสมบัติคอลลิเกทิฟของสารละลาย
7.      รู้และเข้าใจทฤษฎีจลน์ศาสตร์เคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราเร็วของปฏิกิริยา
9.      รู้และเข้าใจลักษณะทั่วไปของภาวะสมดุล ค่าคงที่สมดุล และการรบกวนสมดุล
10.    รู้และเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานของปฏิกิริยากรด-เบส
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ โครงสร้างอะตอม ตารางธาตุและแนวโน้มสมบัติของธาตุ พันธะเคมี ปริมาณสารสัมพันธ์ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส สารละลาย จลนศาสตร์เคมี สมดุลเคมี ปฏิกิริยากรด-เบส
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง 
1.1.1 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไข ข้อขัด แย้ง ตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของ ความเป็นมนุษย์
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบ วิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.2.1 การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
1.2.2 การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
1.2.3 การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
1.2.4 การสอนแบบบรรยาย
1.3.1 การเขียนบันทึก
1.3.2 โครงการกลุ่ม 
1.3.3 การสังเกต 
1.3.4 การประเมินโดยเพื่อน
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจในทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรม พื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้องและการ สร้าง นวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหา ของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้วยวิธีที่เหมาะสมรวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
2.2.1 กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2.2.2 การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
2.2.3 การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
2.2.4 การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
2.2.5 การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
2.2.6 การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
2.2.7 การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
2.2.8 การสอนแบบบรรยาย  
2.3.1 โครงการกลุ่ม
2.3.2 การสังเกต
2.3.3 ข้อสอบอัตนัย
2.3.4 ข้อสอบปรนัย
3.1.1 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 
3.1.2 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเองเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
3.2.1 กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
3.2.2 การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
3.2.3 การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3.2.4 การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
3.2.5 การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
3.2.6 การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
3.2.7 การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
3.2.8 การสอนแบบบรรยาย  
3.3.1 การสังเกต
3.3.2 การนำเสนองาน
3.3.3 ข้อสอบอัตนัย
3.3.4 ข้อสอบปรนัย
4.1.1 รู้จักบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมายทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.2.1 การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4.2.2 การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
4.2.3 การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย
4.3.1 การสังเกต
4.3.2 การนำเสนองาน
5.1.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้ อย่าง เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5.1.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพใน สาขาวิชาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1 การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
5.2.2 ฝึกฝนเทคนิคการตำนวณและการรายงานผลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
5.2.3 การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์และวาจา
5.1.1 การสังเกต
5.1.2 การนำเสนองาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะ ความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความ รับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 FUNSC203 เคมีมูลฐานสำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-8 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรมและจริยธรรม และความรับผิดชอบ 1-15 4
2 1.1-5.3 การสอบกลางภาค 8 30
3 1-8 งานมอบหมายและรายงานการทดลอง 1-15 30
4 5.4-8.7 การสอบปลายภาค 17 30
5 1-8 การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม 1-15 4
6 1-8 ความตรงต่อเวลา และการเข้าร่วมชั้นเรียน 1-15 2
FUNSC203 เอกสารประกอบการสอนวิชา เคมีมูลฐานสำหรับวิศวกร  เรียบเรียงโดย คณาจารย์เคมี สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มทร.ล้านนาเชียงใหม่ พิมพ์ ครั้งที่ 1 ปี 2565
1.      กฤษณา ชุติมา. หลักเคมีทั่วไป เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2532.
2.      กฤษณา ชุติมา. หลักเคมีทั่วไป เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2536.
3.      กฤษณา ชุติมา. หลักเคมีทั่วไป เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538.
4.      ชัยวัฒน์ เจนวาณิชย์. หลักเคมี 1 ฉบับปรับปรุง. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2533.
5.      ชัยวัฒน์ เจนวาณิชย์. หลักเคมี 2 ฉบับปรับปรุง. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2530.
6.      รานี สุวรรณพฤกษ์, เคมีทั่วไป 1 สำหรับสาขาวิศวกรรมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ : บริษัทพิมพ์ดีการพิมพ์ จำกัด, 2553.
7.      รานี สุวรรณพฤกษ์, เคมีทั่วไป 2 สำหรับสาขาวิศวกรรมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ : บริษัทพิมพ์ดีการพิมพ์ จำกัด, 2554.
8.      อภิสิฏฐ์ ศงสะเสน, เคมีทั่วไปสำหรับวิศวกร เล่ม 1, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บริษัททริปเพิ้ล กรุ๊ป จำกัด, 2554.
9.      อภิสิฏฐ์ ศงสะเสน, เคมีทั่วไปสำหรับวิศวกร เล่ม 2, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บริษัททริปเพิ้ล กรุ๊ป จำกัด, 2555.
10.    Zumdahl, S.Z. Chemistry. 2nd ed. Lexington: Health & Co, 1989.
11.    Zumdahl, S. S., Zumdahl, S. A. Chemistry. 7th ed. New York: Houghton Mifflin Company, 2007.
12.    Sarquis, M., Sarquis, J. L. Holt McDougal Modern Chemistry. Houghton Mifflin Harcourt Company, 2012
13.    McMurry, J. E., Fay, R.C. Chemistry. 6th ed. New Jersey: Pearson Pentice Hall, 2012.
14.    Brown, T. L., LeMay Jr., H. E., Bursten, B. E., Murphy, C. J., Woodward, P. M. Chemistry: The Central Science. 12th ed. New Jersey: Pearson Pentice Hall, 2012.
15.    Silberberg, M. S. Principles of General Chemistry. 2nd ed. New York: McGraw Hill, 2010.
16.    Brady, J.E.,Humiston,G.E. General chemistry. 2ed. USA : John Wiley & sons, Inc., 1978.
17.    Brown,T. L. General chemistry. 2nd ed. Ohio : Charles E. Merrill publishing company, 1968.
18.    Brown,W.H. General, Organic and biochemistry. 2nd printing. Boston, Massachusetts : Willard Grant Press Statler office Building, 1980.
19.    Davis, R.E., Gailey, K.D, Whitten, K.W. Principles of chemistry. USA : CBS College Publishing, 1984.
20.    Limwanich, W., Meepowpan, P., Nalampang, K., Kungwan, N., Molloy, R., Punyodom, W., Kinetics and thermodynamics analysis for ring-opening polymerization of
        caprolactone initiated by tributyltin n-butoxide using differential scanning calorimetry, Thermochimica Acta, 119: 567-579 (2015).
21.   McMurry, J. E., Fay, R.C. (2012). Chemistry, 6th ed. New Jersey: Pearson Pentice Hall.
22.   Silberberg, M. S., Amateis, P. (2015). Chemistry: The Molecular Nature of Matter and Change, 7th ed. New York: McGraw Hill.
1.        Zumdahl, S.Z. Chemistry. 2nd ed. Lexington: Health & Co,1989.
2.        Brady,J.E.,Humiston,G.E.  General chemistry.Second edition.USA : John Wiley & sons,   Inc., 1978.
3.        Brown,T. L.  General chemistry.Second edition.Ohio : Charles E. Merrill  publishing  company, 1968.
4.       Brown,W.H.  General, organic and biochemistry.Second printing.  Boston,  Massachusetts : Willard Grant Press Statler office Building, 1980.
5.        Davis,R.E.,Gailey,K.D,Whitten,K.W.  Principles of chemistry.USA : CBS College Publishing, 1984.
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชาซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชาด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยกลุ่มวิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
แผนกวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา  มีการประชุมอาจารย์ในแผนกวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข เช่น นำระบบ Google form ใช้ในการเก็บข้อมูลงานมอบหมายของนักศึกษา รวมถึงแบบฝึกหัดประจำบท นำงานวิจัยของอาจารย์ผู้สอนมาเป็นสื่อการเรียนการสอนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าใจถึงการนำพื้นฐานคาวมรู้ทางเคมีไปใช้งานจริง 
กลุ่มวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนนของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของกลุ่มวิชาภายในรอบเวลาหลักสูตร
กลุ่มวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของแผนกวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้ากลุ่มวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป