การเงินธุรกิจ

Business Finance

1. เข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับการเงินธุรกิจ  จรรยาบรรณ และเป้าหมายของการจัดการทางการเงิน
2. เข้าใจหลักเกณฑ์และวิธีการวิเคราะห์  การพยากรณ์  และการควบคุมทางการเงิน
3. เข้าใจวิธีการจัดการทุนหมุนเวียน และการจัดหาเงินทุน ที่เหมาะสม
4. สามารถวิเคราะห์ต้นทุนของเงินทุน  จัดทำงบจ่ายลงทุน และเข้าใจโครงสร้างทางการเงินของธุรกิจ
5. สามารถนำหลักเกณฑ์และวิธีการทางการเงินประยุกต์ใช้กับธุรกิจ ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
เพื่อให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายรายวิชา ภายใต้หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต  สาขาวิชาบริหารธุรกิจ วิชาเอกการจัดการธุรกิจ มุ่งเน้นให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ในรายวิชาการเงินธุรกิจ ไปประยุกต์ใช้ในการศึกษาหรือการประกอบอาชีพได้
ศึกษาความหมายของการเงินธุรกิจ เป้าหมายของการจัดการทางการเงินธุรกิจ เทคนิคในการวิเคราะห์ การพยากรณ์ และการควบคุมทางการเงิน การจัดการทุนหมุนเวียน งบจ่ายลงทุน วิธีการจัดหาเงินทุนของธุรกิจ ต้นทุนของเงินทุนและโครงสร้างทางการเงิน
1 ชั่วโมง
มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
ปลูกฝังการเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ โดยใช้กฎระเบียบของมหาวิทยาลัยเป็นเกณฑ์ คือ การเข้าเรียน และการส่งงาน อธิบายเกี่ยวกับจรรยาบรรณทางวิชาชีพการบัญชี  พร้อมปลูกจิตสำนึกโดยการยกตัวอย่างบุคคลที่น่ายกย่องด้านจรรยาบรรณ และให้นักศึกษาร่วมอภิปรายในประเด็นเกี่ยวกับจรรยาบรรณสำหรับเหตุการณ์ต่างๆ โดยผู้สอนให้คำชี้แนะในการปฏิบัติให้อยู่ภายใต้จรรยาบรรณวิชาชีพ ส่งเสริมให้นักศึกษามีความพอเพียง ขยัน อดทน รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
การเข้าเรียนประเมินผลจากการเข้าชั้นเรียน ส่งงาน ประเมินผลจากการส่งงานตามกำหนดเวลา จรรยาบรรณ ประเมินผลจากการสังเกตโดยผู้สอน ความรับผิดชอบ ประเมินจากการส่งงาน และการสังเกตโดยผู้สอน
มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้องประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจาวัน
-     บรรยายหลักการ ยกตัวอย่างและแสดงวิธีการจัดทำบัญชี
-     กำหนดให้นักศึกษาฝึกทำแบบฝึกหัดและกรณีศึกษา
-     มอบหมายงานเพื่อการค้นคว้าทางวิชาการ การคิดวิเคราะห์และประยุกต์ความรู้ในการวิเคราะห์และแก้ปัญหา
การใช้แบบทดสอบ การตรวจความถูกต้องของแบบฝึกหัดและกรณีศึกษา การตรวจการนำเสนอเนื้อหาและแนวความคิด
สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
- บรรยายหลักการ ยกตัวอย่างและแสดงวิธีการจัดทำบัญชี
-     กำหนดให้นักศึกษาฝึกทำแบบฝึกหัดและกรณีศึกษา
-     มอบหมายงานเพื่อการค้นคว้าทางวิชาการ การคิดวิเคราะห์และประยุกต์ความรู้ในการวิเคราะห์และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ ได้อย่างเหมาะสม
การใช้แบบทดสอบ การตรวจความถูกต้องของแบบฝึกหัดและกรณีศึกษา การตรวจการนำเสนอเนื้อหาและแนวความคิดในกรณีศึกษา
มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
มอบหมายงานให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
ประเมินจากผลงานของนักศึกษา ประเมินจากพฤติกรรมในการทำกิจกรรมในชั้นเรียน
สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน
มอบหมายงานค้นคว้าที่ต้องใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ เพื่อฝึกทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การนำเสนอผลงานมอบหมายโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเมินจากงานที่มอบหมายและการนำเสนอ
สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
มอบหมายงานให้นักศึกษาวิเคราะห์และแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา โดยบูรณาการองค์ความรู้จากหลายศาสตร์
ประเมินจากงานที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands–on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา - ปลูกฝังการเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ โดยใช้กฎระเบียบของมหาวิทยาลัยเป็นเกณฑ์ คือ การเข้าเรียน การแต่งกาย และการส่งงาน - อธิบายเกี่ยวกับจรรยาบรรณทางวิชาชีพการบัญชี พร้อมปลูกจิตสำนึกโดยการยกตัวอย่างบุคคลที่น่ายกย่องด้านจรรยาบรรณ และให้นักศึกษาร่วมอภิปรายในประเด็นเกี่ยวกับจรรยาบรรณสำหรับเหตุการณ์ต่างๆ โดยผู้สอนให้คำชี้แนะในการปฏิบัติให้อยู่ภายใต้จรรยาบรรณวิชาชีพ - ส่งเสริมให้นักศึกษามีความพอเพียง ขยัน อดทน รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม บรรยายหลักการ ยกตัวอย่างและแสดงวิธีการจัดทำบัญชี - กำหนดให้นักศึกษาฝึกทำแบบฝึกหัดและกรณีศึกษา - มอบหมายงานเพื่อการค้นคว้าทางวิชาการ การคิดวิเคราะห์และประยุกต์ความรู้ในการวิเคราะห์และแก้ปัญหา บรรยายหลักการ ยกตัวอย่างและแสดงวิธีการจัดทำบัญชี - กำหนดให้นักศึกษาฝึกทำแบบฝึกหัดและกรณีศึกษา - มอบหมายงานเพื่อการค้นคว้าทางวิชาการ การคิดวิเคราะห์และประยุกต์ความรู้ในการวิเคราะห์และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ ได้อย่างเหมาะสม - มอบหมายงานให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม - มอบหมายงานค้นคว้าที่ต้องใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ เพื่อฝึกทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข - การนำเสนอผลงานมอบหมายโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - มอบหมายงานให้นักศึกษาวิเคราะห์และแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา โดยบูรณาการองค์ความรู้จากหลายศาสตร์
1 BBACC107 การเงินธุรกิจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หน่วยเรียนที่ 1-5 - ตรวจความถูกต้องของแบบฝึกหัดและกรณีศึกษา - ตรวจการนำเสนอเนื้อหาและแนวความคิดในกรณีศึกษาและงานมอบหมาย - สังเกตความรับผิดชอบจากการนำเสนอผลงานและตอบคำถามของนักศึกษา 1-8 และ 10-16 30
2 หน่วยเรียนที่ 1-2 แบบทดสอบกลางภาค 9 30
3 หน่วยเรียนที่ 3-5 แบบทดสอบปลายภาค 17 30
4 คุณธรรม จริยธรรม และการเคารพกฎระเบียบ - การเข้าเรียนประเมินผลจากการลงลายมือชื่อเข้าเรียน - การแต่งกายประเมินผลจากการสังเกตโดยผู้สอน - ส่งงาน ประเมินผลจากการส่งงานตามกำหนดเวลา - จรรยาบรรณ ประเมินผลจากการสังเกตโดยผู้สอน 1-17 10
สุพรรัตน์  ทองฟัก.  เอกสารประกอบการสอนวิชาการเงินธุรกิจ.  พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก,  2563.
หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอน เกี่ยวกับการเงินธุรกิจ ของสถาบันการศึกษา
ข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตเช่น

กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ธนาคารแห่งประเทศไทย สถาบันการเงิน
ให้นักศึกษาประเมินความพึงพอใจในรายวิชา
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ในการเรียนของนักศึกษา
การปรับปรุงเนื้อหาให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง การพัฒนาสื่อการสอนออนไลน์
การทวนสอบผลคะแนนโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะจากผลการประเมิน