เคมีเบื้องต้นสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

Basic Chemistry for Agro - Industry

    1.1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม มีจิตสำนึกสาธารณะ
    1.2 มีความรู้และความเข้าใจ ศึกษาและปฏิบัติ เรื่องโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ พันธะเคมี 
สารละลาย  กรด เบส เกลือ  ปฏิกิริยาเคมีและไฟฟ้าเคมี  อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีและสมดุลเคมี สเตอริโอเคมี  สารประกอบไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์
    1.3 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทางวิชาการ นำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ มีทักษะการแก้ปัญหา
    1.4 สามารถทำงานเป็นทีม มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
    1.5 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
2.1 เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีทางเคมีพื้นฐานเพิ่มขึ้น
2.2 นักศึกษานำความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง
2.3 เพื่อให้เนื้อหาสมบูรณ์สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ พันธะเคมี สารละลาย กรด เบส เกลือ ปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีและสมดุลเคมี สเตอริโอเคมี สารประกอบไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์
          Study and Practice of atomic structure and periodic, chemical bond, solution, acid-base, salt, chemical reaction, rate of chemical reaction and chemical equilibrium, stereochemistry, hydrocarbon compound and derivatives
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์ เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำนอกชั้นเรียน สัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง
    1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
    1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
   1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
    1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อให้นักศึกษามีระเบียบวินัย  ขยัน อดทน  ตรงต่อเวลา  รับผิดชอบต่องานที่มอบหมาย   ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะ ช่วยเหลืองานกลุ่ม การรักษาความสะอาดเรียบร้อยของห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมระหว่างการสอน
1.การเขียนบันทึก
2.การสังเกต
- สังเกต บันทึกพฤติกรรมการเรียน การแต่งกาย  การเข้าเรียนตรงต่อเวลา  เขียนงานและส่งงานที่มอบหมายได้ครบถ้วน ตรงต่อเวลา
 - พฤติกรรมการช่วยเหลืองานกลุ่ม การรักษาความสะอาดเรียบร้อยของห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ
- ไม่มีการทุจริตในการทดสอบ
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
    2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
    2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1.การสอนแบบบรรยายและอภิปราย 
2.กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)  
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)    
4 การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
5.การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction) 
6.การเรียนการสอนแบบactive learning
1. การเขียนบันทึก
2. การสังเกต
3. ประเมินการนำเสนองาน
4. ข้อสอบอัตนัย
5. ข้อสอบปรนัย
6. การซักถาม การร่วมอภิปรายในห้องเรียน
เน้นการใช้วิธีการวัดหลากหลายตามเนื้อหาและกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ผลการประเมินต้องสะท้อนให้เห็นความก้าวหน้าของผู้เรียน
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- มอบหมายงานให้ค้นคว้าและนำเสนอ
- มีการชี้ประเด็นและยกตัวอย่างประกอบในแต่ละหัวข้อ
- มีแบบฝึกหัดให้นักศึกษาฝึกแก้ปัญหาในรูปแบบต่างๆ
-ปฏิบัติการทดลอง การวิเคราะห์ผลการทดลอง การสรุปอภิปรายผล รายงานผลการทดลอง
ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินผลจากการตอบคำถาม การสอบ การวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
- สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา จากการตรวจโจทย์แบบฝึกหัดที่ให้นักศึกษาฝึกแก้ปัญหาในรูปแบบต่างๆ
-การวิเคราะห์ผลการทดลอง การสรุปอภิปรายผล รายงานผลการทดลอง
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
มอบหมายงานกลุ่ม และรายบุคคล
- การนำเสนอรายงานและอภิปรายกลุ่ม
- ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ และ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
- ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-มีการอธิบายเชิงทฤษฎีแล้วแสดงวิธีคำนวณที่สอดคล้องกับทฤษฎีเหล่านั้น
-มีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสืบค้นกรณีศึกษาเกี่ยวกับเคมี
 - การนำเสนอโดยใช้รูปแบบ  เครื่องมือ  และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอ โดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติ
- ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 FUNSC211 เคมีเบื้องต้นสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 - การเข้าชั้นเรียน - ความรับผิดชอบส่งงานที่มอบหมายและความสำเร็จตามกำหนดเวลา ทุกสัปดาห์ 10%
2 1.3, 2.1, 3.1, 3.2, 4.3, 5.2 - การแสดงพฤติกรรมในชั้นเรียน (ทักษะปฏิบัติการทดลอง, การทำงานเป็นทีม, การยอมรับฟังความคิดเห็น, การปรับตัวเข้ากับผู้อื่นและสังคม, ระบบการคิดวิเคราะห์โจทย์, การวางแผนในการคิดและตัดสินใจแก้โจทย์ปัญหาที่เกิดขึ้น) - การแสดงความคิดเห็น - การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 20%
3 2.1, 3.1, 3.2 - การทดสอบย่อย - การถาม-ตอบปากเปล่า 3,5,7,11,13,15 10%
4 1.3, 2.1, 3.1, 3.2, 4.3, 5.2 - คุณภาพของงานที่มอบหมาย (สมุดบันทึก, สมุดรายงานผลการทดลอง, การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน, มีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์) - การเลือกใช้สารสนเทศที่เหมาะสม 1,3,6,11,14,16 20%
5 1.3, 2.1, 3.1, 3.2 การสอบกลางภาค 8 20%
6 1.3, 2.1, 3.1, 3.2 การสอบปลายภาค 17 20%
1) กฤษณา ชุติมา หลักเคมีทั่วไป เล่ม 1, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ 2539.
2) กฤษณา ชุติมา หลักเคมีทั่วไป เล่ม 2. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ 2539.
3) ทบวงมหาวิทยาลัย เคมี เล่ม 1-2, สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ 2540
       4) แผนกเคมี  คู่มือปฏิบัติการเคมีหลักเคมี1  สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และ
              เทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน, น่าน 2559
1)โครงการตำรา.  ปฏิบัติการเคมีทั่วไป เล่ม1.  ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,2539.
2) โครงการตำรา.  ปฏิบัติการเคมีทั่วไป เล่ม2.  ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,2539.
3) ชัยวัฒน์ เจนวาณิชย์ หลักเคมี เล่ม 1-2, สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ 2541
4) ทบวงมหาวิทยาลัย เคมี เล่ม 1-2, สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ 2540
5) ประเสริฐ ศรีไพโรจน์ เคมีพื้นฐานเล่ม  1, สุพีเรียพริ้นติ้งเฮาส์, กรุงเทพฯ 2545.
6) วิโรจน์ ปิยวัชรพันธุ์ เคมีทั่วไป 1, โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ 2541.
       7) ลัดดา มีศุข เคมีทั่วไป เล่ม 1 ฉบับรวบรัด, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ 2545.
8) สุนันทา วิบูลย์จันทร์ เคมี: วิชาแกนทางวิทยาศาสตร์, เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า,
กรุงเทพฯ 2545.
       9) พรทิพย์  ศัพทอนันต์. ปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์. คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
         เจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
       10) สุภาพ  บุณยะรัตเวชและคณะ.  ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์.  สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2536.
11) P. W. Atkins Physical Chemistry 5th ed. Oxford University Press, Oxford 1994.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
ให้นักศึกประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง โดยผ่านกิจกรรม ดังนี้
1.1) การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
1.2) แบบประเมินผู้สอน หรือแบบประเมินรายวิชา 
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง โดยดูจากผลการเรียนของนักศึกษา เพื่อเป็นแนวทางแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนและรายวิชาให้ทันเหตุการณ์ปัจจุบัน
อาจารย์ผู้สอนต้องติดตามความก้าวหน้าขององค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง (มีการใช้เอกสารประกอบการสอนที่ย้อนหลังไม่เกิน 5 ปี) หรือเข้าร่วมอบรมสัมมนาการจัดกระบวนการเรียนการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้กลยุทธ์และวางแผนปรับปรุงการเรียนการสอน
4.1 การทวนสอบโดยอาจารย์ผู้สอนทวนสอบจากคะแนนสอบหรืองานกิจกรรมหรือโครงการบูรณาการที่มอบหมาย หรือ  
4.2 การทวนสอบโดยให้นักศึกษาประเมินการเรียนการสอนในระดับรายวิชา
4.3 มีกระบวนการทวนสอบ ฯ ในระดับกระบวนวิชา ที่สอดคล้องกับหลักสูตร (มคอ.2 หมวด 4 และหมวด 5) ให้ครอบคลุม ครบถ้วน และตรงตามที่หลักสูตรกำหนด  
5.1) ทบทวนและปรับปรุงเนื้อหาที่สอน กลยุทธ์การสอนและจัดหาอุปกรณ์สื่อการสอนให้มีความก้าวหน้าตามยุคสมัย
5.2) การประเมินผลผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอ จากแบบทดสอบย่อย เพื่อจะได้ปรับปรุงกลยุทธ์การสอนให้เหมาะสมตามสถานการณ์
5.3) การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา (ใน มคอ.5) เสนอต่อหลักสูตรเพื่อพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงในภาคการศึกษาต่อไป