การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล

Teaching English for International Communication

ศึกษาและฝึกปฏิบัติทฤษฎีเกี่ยวกับการสอนภาษาอังกฤษ นำความรู้ในรายวิชาต่างๆ มาวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อสร้างบทเรียนที่เหมาะสมกับผู้เรียนฝึกการสอน การบูรณาการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการเรียนการสอน วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน สร้างแบบทดสอบและประเมินผลการเรียน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษในการประกอบอาชีพ ในงานด้านการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ อีกทั้งเพื่อสร้างเสริมสติปัญญาในเชิงวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิจารณ์ได้อย่างเป็นระบบ โดยการใช้เทคโนโลยีเพื่อสร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ อันจะนำไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต
ศึกษาและฝึกปฏิบัติทฤษฎีเกี่ยวกับการสอนภาษาอังกฤษ นำความรู้ในรายวิชาต่างๆ มาวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อสร้างบทเรียนที่เหมาะสมกับผู้เรียนฝึกการสอน การบูรณาการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการเรียนการสอน วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน สร้างแบบทดสอบและประเมินผลการเรียน
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1 มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละมีจิตสำนึกสาธารณะ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
2 มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม
3 มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
4 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้
5 มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบด้านคุณธรรม จริยธรรมที่จะเกิดขึ้นกับบุคคลองค์กร และสังคมจากการใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร
1 ให้นักศึกษาทำงานมอบหมายด้วยตนเองในทุกบทเรียน โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ 2 กำหนดเกณฑ์ให้นักศึกษาได้สร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและสม่ำเสมอ
การประเมินสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาและการปฏิบัติตนในด้านต่างๆ ได้แก่ 1 การเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2 การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม 3 การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม
นักศึกษามีความรู้ในแต่ละรายวิชาอย่างกว้างขวาง มีทักษะที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ เข้าใจติดตาม และศึกษาการเปลี่ยนแปลงในสถานการณ์ของโลกปัจจุบัน สามารถศึกษา ค้นคว้า และมีแนวทางในการแก้ปัญหาและการต่อยอดความรู้ได้ โดยมีผลการเรียนรู้ดังนี้ 1 มีความรู้และเข้าใจหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติในเนื้อหาของรายวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในรายวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2 มีความรู้และเข้าใจในศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียน สามารถนำความรู้ และทักษะมาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขปัญหาในชีวิตประจำวันได้ 3 มีความรู้และเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการในการวางแผน การจัดการปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับ       สถานการณ์ที่หลากหลาย 4 มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น 5 สามารถวิเคราะห์ และนำข้อมูลมาปรับปรุงและ/หรือประเมินตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและ รวมทั้งการนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม 7 รู้ เข้าใจ และสนใจที่จะพัฒนาความรู้ ความชำนาญในการใช้ภาษาอย่างต่อเนื่อง 8 มีความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษา พร้อมทั้งเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษา 9 มีประสบการณ์เพื่อพัฒนาตนเองให้มีความก้าวหน้า และ/หรือการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีมาใช้ในงานได้จริง
1 จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ 2 จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงาน หรือการเชิญผู้เชี่ยวชาญมาเป็นวิทยากรให้ความรู้ 3 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง 4 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
1 การทดสอบกลางภาคและปลายภาค 2 ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง 3 ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ
สามารถค้นหาข้อเท็จจริง ทำ ความเข้าใจ สามารถประเมินข้อมูลแนวคิดและ จาก แหล่งข้อมูลที่หลากหลาย ใช้ข้อมูลที่ได้มาประยุกต์ใช้ รวมถึงนำมาแก้ไขปัญหาอื่นๆ ได้ด้วยตนเอง และ เสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์ 1 สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินข้อมูลจากหลายแหล่งเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์อย่างเหมาะสม 2 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นระบบ สร้างสรรค์และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้และประสบการณ์ มาใช้ในการพัฒนาตนเองและสังคม 4 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา และความต้องการได้ 5 สามารถศึกษา ค้นคว้า ประยุกต์ความรู้และทักษะในการแก้ไขปัญหาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
 
 1จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติผ่านทางบทบาทสมมุติในสถานการณ์จำลอง  
1 การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมุติหรือสถานการณ์จำลอง 2 การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหาและสื่อสารในบริบทต่างๆ
นักศึกษาสามารถแสดงออกซึ่งภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตาม มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รับผิดชอบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องรวมทั้งพัฒนาตนเอง ดังนั้นนักศึกษาต้องรู้จักการวางตัว การมีมารยาทในการเข้าสังคม และทักษะที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ดังนี้ 1 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม มีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 2 มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม การแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีม 3 มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงานในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ และในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน 4 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 5 สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 7 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
1 สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชา 2 จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม 3 มอบหมายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง
1 การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค 2 การสังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา 3 การสังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีมของนักศึกษา 4 การสังเกตพฤติกรรมและการประเมินการให้บริการวิชาการของนักศึกษา
นักศึกษาสามารถศึกษาและทำความเข้าใจ สามารถเลือกและประยุกต์ใช้เทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการศึกษาค้นคว้า และเสนอแนะ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล แปลความหมาย และนำเสนอข้อมูลสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพด้วยเหตุนี้ ผู้สอนต้องใช้เทคโนโลยีในการสอนเพื่อฝึกให้นักศึกษามีคุณสมบัติ ดังนี้ 1 สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจในเรื่องทีศึกษา 2 สามารถอธิบายและสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการเครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ 3 สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4 มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ .5 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อเรื่องศึกษาอย่างสร้างสรรค์ 6 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้ในการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ดำเนินการสอนด้วยกิจกรรมที่ให้นักศึกษาใช้เครื่องมือติดต่อสื่อสาร ค้นคว้าหาข้อมูลและนำเสนอผลจากการค้นคว้าโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้านทักษะ การวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศดังนี้ 1 สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารการค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงาน
2 ให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น ศึกษาข้อมูลจากหัวข้อที่ศึกษา 3 จัดให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร ในสถานการณ์ และวัฒนธรรมที่หลากหลาย และในการนาเสนองาน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษาดังนี้ 1 ผลงานของนักศึกษาจากงานที่ได้รับมอบหมาย 2 พฤติกรรมและความสามารถในการใช้ภาษาของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร ในสถานการณ์ต่างๆ
1 สามารถปฏิบัติงานโดยนาองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม 2 สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษา มาใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงานเพื่อสนับสนุนการดาเนินงานของธุรกิจ นามาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง 3 สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทางาน สังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม และมีความพอเพียงในการดาเนินชีวิต 4 สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล 5 สามารถปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทางความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของความเป็นไทย  
1 สอดแทรกการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียน 2 จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติงานจริง
1 งานที่ได้รับมอบหมายผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 4.7 5.1 5.2 5.3 5.4 ุ6.1 6.2 6.3 6.4 6.5
1 BOAEC137 การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3, 4.1, 4.6 การเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การส่งงานตรงเวลา การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน มีความซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ตลอดปีการศึกษา 10%
2 4.5 ทักษะการใช้ภาษาในการถ่ายทอดความรู้และการสื่อสาร ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 4.2, 6.2 ฝึกเขียนแผนการสอนและฝึกปฏิบัติการสอน 12-16 30%
4 3.4, 4.4 สอบกลางภาคและสอบปลายภาค 9, 17 25, 25
Harmer, Jeremy. 1991. The Practice of English Language Teaching. New York: Longman Publishing.
1. Farrell. T.S.C. 2002. “Lesson planning”. In J.C. Richards; and W.A. Renandya (eds.), Methodology in Language Teaching. Cambridge: Cambridge University Press. 2. Jacobs, G.M., Lee, G.S. & Ball, J. 1995. Learning Cooperative Learning via Cooperative Learning. Singapore: SEAMEO Regional Language Centre.
Nunan, D. 1989. Designing Tasks for the Communicative Classroom. Cambridge: Cambridge University Press. Parrott, Martin. 1993. Tasks for language Teachers. Cambridge: Cambridge University Press. . Richards, C. and Renandya, W.A. 2002. Methodology in Language Teaching. Cambridge: Cambridge University Press. . Richards, C. & Rodgers, T. 1986. Approaches and Methods in Language Teaching. Cambridge: Cambridge University Press. . Woodward, T. 2001. Planning Lessons and Courses. Cambridge: Cambridge University Press. . เว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา เช่น
http://wbc.msu.ac.th/wbc/edu/0506714/Unit_2/Unit_2.htm http://www.learners.in.th/blogs/posts/283159 http://isc.edu.ku.ac.th/course/data/01156522_2010_01_01.pdf http://journals.cambridge.org/action/displayAbstract?fromPage=online&aid=2546864 http://teachingcommons.depaul.edu/How_to/Develop_a_Course/design.html  
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
2.1 การสังเกตการณ์การสอนของหัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้าสาขา/ผู้ที่คณะมอบหมาย 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
นำผลประเมินการสอนตามข้อ 2 มาปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติม
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาจากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา หรือหัวหน้าสาขา หรือผู้ที่คณะมอบหมาย 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้จากรายวิชานี้ เข้ากับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรือประสบการณ์ของอาจารย์