โครงสร้างภาษาอังกฤษ

English Structure

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและสามารถวิเคราะห์ส่วนประกอบของคำ การสร้างคำ โครงสร้างภาษาอังกฤษในระดับคำ วลี และประโยค ตลอดจนสามารถใช้โครงสร้างภาษาอังกฤษเพื่อสื่อความหมายได้
เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาสากลได้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์เหมาะสมตามกาลเทศะมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับวัฒนธรรมของแต่ละประเทศ
 
หน้าที่ ประเภทของคำ และโครงสร้างภาษาอังกฤษ ตั้งแต่ระดับคำ วลี อนุประโยคและประโยค
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม
(1) มีทัศนคติที่ดี เคารพศักดิ์ศรีและคุณค่าความเป็นมนุษย์
(2) มีวินัย ตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามวัฒนธรรมองค์กรที่ดี
(3) มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
(4) มีจิตสาธารณะในการทำคุณประโยชน์ต่อผู้อื่นและสังคม
(5) มีความซื่อสัตย์ สุจริต และมีจรรยาวิชาการและวิชาชีพ
(1) สร้างวัฒนธรรมองค์กรโดยมีผู้สอนเป็นแบบอย่างที่ดี เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีจรรยาวิชาการและวิชาชีพ
(2) ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งภายในมหาวิทยาลัยและชุมชน เพื่อเรียนรู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกของกลุ่ม เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1 การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่ง กาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2 การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
3 การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
(1) จดจำ และออกเสียงภาษาอังกฤษและ/หรือภาษาต่างประเทศได้อย่างถูกต้อง
(2) วิเคราะห์โครงสร้างและความหมายของคำ วลี และประโยคได้
(3) เปรียบเทียบการใช้ภาษาอังกฤษในวัฒนธรรมที่หลากหลายได้
(4) แปลความภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ
(5) สรุปใจความและประเด็นสำคัญจากสิ่งที่ฟังและอ่านได้ถูกต้อง
(6) ตีความ วิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความคิดเห็นด้านภาษาและวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์
(7) ประเมินความเหมาะสมของการใช้วัจนภาษา และอวัจนภาษาเพื่อสื่อสารในบริบทวัฒนธรรมข้ามชาติได้
1.สอนโดยการบรรยายให้ความรู้ ผนวกกับการฝึกปฏิบัติจริง โดยเน้นการสอนแบบเน้นนักศึกษาเป็นศูนย์กลางการเรียน (Student-Centered)
2.สอนโดยการใช้กิจกรรมเป็นฐาน (activity-based) เช่น การฝึกปฏิบัติวิเคราะห์โครงสร้าง การระดมสมองเพื่อหาคำตอบร่วมกัน เป็นต้น
3.ให้นักศึกษาฝึกการใช้ภาษาและวิเคราะห์โดยการอ่านและเขียนจากสื่อต่างๆ ตลอดจนการทำแบบฝึกหัดเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน
1.การทดสอบย่อย / สอบกลางภาค / สอบปลายภาค
2.ผลการทำแบบฝึกหัด / การทำกิจกรรมของนักศึกษา
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
(1) มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ
(2) มีทักษะในการนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนตามวัฒนธรรมสากล
(3) มีทักษะในการประยุกต์ใช้ภาษามาวิเคราะห์ วิจารณ์อย่างมีเหตุผล และสามารถแก้ปัญหาอย่างมีระบบ
1 บรรยายให้ความรู้ และฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์ภาษา
2 นักศึกษาซักถามและอภิปรายแสดงความคิดเห็น
3 นักศึกษาฝึกทำแบบฝึกหัดตามเนื้อหาการบรรยาย
4นักศึกษาทำงานที่ได้รับมอบหมาย และศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
1. การทดสอบภาคทฤษฎี และปฏิบัติ
2.การทำแบบฝึกหัด งานที่ได้รับมอบหมาย และการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
(1) มีความสามารถทำงานเป็นทีม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
(2) ประมวลทักษะและองค์ความรู้ด้านภาษาอังกฤษเพื่อนำมาใช้ในการทำงานของตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ
(3) ใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในสังคมข้ามวัฒนธรรม
(1) สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชา
(2) จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่มในรายวิชา มุ่งเน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน (Collabolative learning) โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
(3) ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆทั้งภายในมหาวิทยาลัยและบริการชุมชน เพื่อเรียนรู้กระบวนการกลุ่ม ทักษะสัมพันธ์ ภาวะผู้นำ ให้เกียรติ ตระหนักถึงหน้าที่และสิทธิของมนุษย์
 
(1) การสังเกตพฤติกรรมและบทบาทของนักศึกษาในกระบวนการกลุ่ม
(2) ประเมินและติดตามกระบวนการเรียนรู้
 
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ และคุณภาพ อย่างถูกต้อง
(2) นำเสนอข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(3) ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานด้านภาษาอังกฤษอย่างเหมาะสม
(4) ใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม ตามกาลเทศะของบริบทวัฒนธรรมข้ามชาติ และวัฒนธรรมนานาชาติ
1) สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารการค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงาน
(2) มอบหมายงานให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น ศึกษา รวบรวมแ วิเคราะห์และตรวจสอบข้อมูล ตลอดจนการนำเสนองานและการทำรายงาน
(3) ประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้และทำงานด้านภาษาอังกฤษอย่างเหมาะสม
(4) แนะนำแหล่งเรียนรู้ออนไลน์และนอกห้องเรียนเพื่อเสริมทักษะภาษา ตัวเลข และเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามความสนใจและความต้องการของนักศึกษา
(5) จัดการเรียนการสอน และกิจกรรมออนไลน์ในรูปแบบต่าง ๆ
(1)  สอบย่อยตามวัตถุประสงค์ของรายวิชา
(3) กลางภาคและปลายภาค โดยใช้การสอบข้อเขียน 
(4) มีเกณฑ์การประเมินผลการเรียนในรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการปฏิบัติงาน
(1) ปรับตัวเข้าสู่สังคมการทำงานในบริบทข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม
(2) ปฏิบัติงานโดยยึดจรรยาบรรณวิชาชีพ
(3) ประยุกต์ความรู้และประสบการณ์มาใช้ในการปฏิบัติงานในระดับสากล
(1)  แนะนำแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเองออนไลน์
(1) ประเมินและติดตามกระบวนการปฏิบัติงาน
(2) ประเมินผลงานโดยอาจารย์นิเทศ
(3) ประเมินผลการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ
(4) การสะท้อนคิดและการประเมินตนเอง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 1 2 3
1 BOAEC101 โครงสร้างภาษาอังกฤษ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3 มีทัศนคติที่ดี ให้เกียรติผู้อื่น ยอมรับฟังความคิดเห็นของส่วนรวม การเข้าชั้นเรียนและส่งงานตรงเวลา การมีส่วนร่วมในกิจกรรมและมีความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคเรียน 10%
2 2.1, 2.2 ทดสอบย่อยในแต่ละหน่วยเรียน สอบกลางภาค สอบปลายภาค 4, 6, 8 12, 14, 16 9 17 30%, 25%, 25%
3 2.1, 2.6, 4.3 กิจกรรมและงานมอบหมาย ตลอดภาคเรียน 10%
เอกสารประกอบการสอนวิชาโครงสร้างภาษาอังกฤษ
Alexander, L.G. 1992. Longman English Grammar Practice. Hong Kong: Longman. Azar, Betty Schrampfer. 1989. Understanding and Using English Grammar. 2nd ed. New Jersey: Prentice-Hall, Inc,. Brown, Ann Cole & Jeffrey, Shaw Fran Weber. 1984. Grammar and Composition. 3rd ed. Boston: Houghton Mifflin Company. Drummond, Gordon. 1974. English Structure Practice. London: Longman. Doty, Gladys G. & Ross, Janet. 1968. Language and Life in the U.S.A. 2nd ed. New York: Harper and Row. Huddleston, R., & Pullum, G. K. 2002. The Cambridge grammar of the English language. Cambridge: Cambridge University Press. James, Haley Shirley & Stewig, Wawen John. 1985. Houghton Mifflin English. U.S.A.: Houghton Mifflin Company. Miller Goulet, Michele & Brantley Pennebaker, Clarice. 2006. The Basics English. Thomson South-West. U.S.A.

9. Murphy, Raymond. 1985. English Grammar in Use. Cambridge: Cambridge University Press.
10. Pinijsakkul, Panatip. 2007. Sentence Structure for Reading comprehension. Bangkok: Thammasat University Press.
11. Quirk, R., Greenbaum, R., Leech, G., & Svartvik, J. 1985. A Comprehensive Grammar of the English language. London: Longman.
12. Oshima, Alice & Hogue, Ann. 1999. Writing Academic English. 3rd ed. New York: Addison Wesley Longman.
13. Vessakosol, Pimpan. 2003. Sentence Composition. Bangkok: Thammasat University Press.
14. เว็บไซต์ต่างๆทีเกี่ยวข้องกับเนื้อหาตลอดจนแบบฝึกหัดออนไลน์
 
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จากแบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา รวมถึงข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ
2.1 การสังเกตการณ์การสอนของหัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้าสาขา/ผู้ที่คณะมอบหมาย
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
นำผลประเมินการสอนตามข้อ 2 มาปรับปรุงการสอนในด้านเนื้อหาและรูปแบบของกิจกรรมการเรียนการสอน การประเมินผล และการให้การเรียนได้มีส่วนร่วมในเนื้อหาของรายวิชามากขึ้น
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาจากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การสอบถามนักศึกษา หรือการตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา หรือหัวหน้าสาขา หรือผู้ที่คณะมอบหมาย
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น โดยปรับปรุงเนื้อหาทุกปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4