ออกแบบหัตถอุตสาหกรรมสร้างสรรค์

Contemporary Craft Design

1.1 ฝึกปฏิบัติ ออกแบบหัตถอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ คำนึงถึงงานหัตถกรรมประเภทต่างๆ
1.2 วิเคราะห์ถึงวัสดุรูปทรงความงามและประโยชน์ใช้สอยในการนำมาออกแบบ
1.3 ฝึกปฏิบัติการออกแบบประยุกต์เพื่อสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าที่เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีรูปลักษณ์ใหม่โดยยังคงความเป็นเอกลักษณ์เดิม
1.4 สร้างสรรค์คุณค่าผลิตภัณฑ์เพื่อตอบสนองความต้องการในสมัยปัจจุบัน
เพื่อปรับปรุงเนื้อหาการฝึกปฏิบัติออกแบบหัตถอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ คำนึงถึงงานหัตถกรรมประเภทต่างๆ เพื่อวิเคราะห์ถึงวัสดุ รูปทรง ความงามและประโยชน์ใช้สอย ในการนำมาออกแบบประยุกต์เพื่อสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าที่เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีรูปลักษณ์ใหม่โดยยังคงความเป็นเอกลักษณ์เดิมเพื่อการอนุรักษ์ เพื่อตอบสนองความต้องการในสมับปัจจุบันทันสมัย
ฝึกปฏิบัติออกแบบหัตถอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ คำนึงถึงงานหัตถกรรมประเภทต่างๆ เพื่อวิเคราะห์ถึงวัสดุรูปทรงความงามและประโยชน์ใช้สอยในการนำมาออกแบบประยุกต์เพื่อสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าที่เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีรูปลักษณ์ใหม่โดยยังคงความเป็นเอกลักษณ์เดิมเพื่อการอนุรักษ์เพื่อตอบสนองความต้องการในสมัยปัจจุบัน
2 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
1.1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายและตรงต่อเวลา
2.1.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
2.1.3 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
2.2.1 บรรยาย  ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงาน ให้มีการค้นคว้า ศึกษาเพิ่มเติมนอกเวลา ใช้การเรียนการ
2.2.2 แบ่งกลุ่มย่อยศึกษาดูงานจากสถานที่ประกอบการหรือแหล่งผลิตจริง
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค (Project)
2.3.2 ประเมินจากผลการปฏิบัติงาน
3.1.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
3.1.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3.2.1 บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
3.2.2 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติผ่านารเรียนการสอนเชิงปฏิบัติอย่างมีส่วนร่วม
3.3.1 สอบกลางภาค ปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการเขียนแบบ
3.3.2 วัดผลจากการประเมินชิ้นงานทั้งงานเดี่ยวและงานกลุ่ม
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
4.2.1 บรรยาย-ถามตอบ ปลูกฝังการเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การแสดงความคิดเห็น และยอมรับการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
4.2.2 มอบหมายงานในห้องเรียน
4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการถาม-ตอบ
4.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย
5.1.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำ เสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 มอบหมายงานภาคปฏิบัติ ทอดลองเขียนให้ดูเป็นตัวอย่าง
5.3.1 ประเมินจากผลการสอบภาคทฤษฏี
5.3.2 ประเมินจากผลงานภาคปฏิบัติงาน
5.3.3 ประเมินผลของพฤติกรรม,บุคลิกภาพและความตั้งใจ,การเข้าร่วมกิจกรรมเสริมต่างๆ
6.1.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
6.1.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
6.1.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
6.2.1 บรรยาย มอบหมายงานรายบุคคล ฝึกปฏิบัติ
6.3.1 ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
6.3.2 ประเมินจากกระบวนการทำงานตามขั้นตอนของการเขียนแบบ
6.3.3 ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยี 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 2.1 2.3 3.1 3.2 3.4 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2 6.3
1 BAAID137 ออกแบบหัตถอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1 สอบกลางภาค ปลายภาค 8 10%
2 3.3.1 สอบปลายภาค 17 20%
3 2.3.2, 3.3.2, 3.3.3, 4.3.1, 4.3.2, 5.3.1, 5.3.2, 6.3.2, 6.3.3 ประเมินจากการปฏิบัติงาน ตลอดภาคการศึกษา 60%
4 1.3.1 การเข้าเรียนที่หลักสูตร และการลงพื้นที่เพื่อศึกษาดูงานจากกลุ่มจริง การส่งงานตามเวลาที่กำหนด การแต่งกาย (ครึ่งเทอมหลัง) การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 วิเคราะห์และวิพากษ์ผลงานการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์