การวางแผนภาษีอากร

Tax Planning

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหลักการวางแผนภาษีอากร ข้อแตกต่างระหว่างการวางแผนภาษีกับการหนีภาษี การหลบหลีกภาษี ศึกษาวิธีการประหยัดภาษีโดยถูกต้องตามกรอบของกฎหมาย ไม่ขัดต่อจริยธรรม และมีควมรับผิดชอบต่อสังคม ได้แก่  ภาษีภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา  ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย  ภาษีมูลค่าเพิ่ม  ภาษีธุรกิจเฉพาะ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักการวางแผนภาษีอากร ข้อแตกต่างระหว่างการวางแผนภาษีกับการหนีภาษี การหลบหลีกภาษี ศึกษาวิธีการประหยัดภาษีโดยถูกต้องตามกรอบของกฎหมาย ไม่ขัดต่อจริยธรรม และมีควมรับผิดชอบต่อสังคม
ศึกษาหลักการวางแผนภาษีอากร ข้อแตกต่างระหว่างการวางแผนภาษีกับการหนีภาษี การหลบหลีกภาษี ศึกษาวิธีการประหยัดภาษีโดยถูกต้องตามกรอบของกฎหมาย ไม่ขัดต่อจริยธรรม และมีควมรับผิดชอบต่อสังคม
อาจารย์ผู้สอนกำหนดเวลาให้นักศึกษาเข้าพบเพื่อขอคำปรึกษาเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาและแบบฝึกหัดเป็นเวลา               3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์เป็นอย่างน้อย
คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
               พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพสามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม
- บรรยายโดยใช้กรณีศึกษาที่มีสาระเกี่ยวข้องกับความสำคัญของคุณค่าแห่งวิชาชีพ โทษของการหนีภาษี การหลบหลีกภาษี
           -ให้นักศึกษาร่วมกันอภิปรายถึงผลกระทบของการขาดจรรยาบรรณทางวิชาชีพ โดยการศึกษาค้นคว้าและยกตัวอย่างในการอภิปราย
- ความมีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นเรียน
             -  ผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ใช้เป็นตัวอย่างในการอภิปรายและใช้เป็นแบบทดสอบ
   เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการวางแผนภาษีอากร ข้อแตกต่างระหว่างการวางแผนภาษีกับการหนีภาษี การหลบหลีกภาษี ศึกษาวิธีการประหยัดภาษีโดยถูกต้องตามกรอบของกฎหมายได้แก่  ภาษีภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา  ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย  ภาษีมูลค่าเพิ่ม  ภาษีธุรกิจเฉพาะ
2.2.1   อาจารย์ผู้สอนบรรยายเนื้อหา และยกตัวอย่างกรณีศึกษา มอบหมายแบบฝึกหัด
   2.2.2   ใช้วิธีการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางประกอบด้วยโดยให้ผู้เรียนร่วมอภิปรายจาก           
                       การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองในเนื้อหาที่กำหนดไว้ล่วงหน้า
              2.2.3  การเรียนรู้จากสถานเอกสารจริง โดยมอบหมายให้นักศึกษาไปศึกษากรณีศึกษาตามประเภทภาษีต่างๆ
                      -  ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นเรียน
                      -  ประเมินจากแบบฝึกหัดและกรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมาย
          -  ประเมินจากการทดสอบย่อย การสอบกลางภาค และการสอบปลายภาค
 
ความสามารถในการวิเคราะห์หลักการวางแผนภาษีอากร ข้อแตกต่างระหว่างการวางแผนภาษีกับการหนีภาษี การหลบหลีกภาษี ศึกษาวิธีการประหยัดภาษีโดยถูกต้องตามกรอบของกฎหมาย ไม่ขัดต่อจริยธรรม และมีควมรับผิดชอบต่อสังคม
             -  มอบหมายแบบฝึกหัด หรือกรณีศึกษาและนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
-  อภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับแบบฝึกหัด หรือกรณีศึกษา
-  รายงานจากการนำเสนอแบบฝึกหัด หรือกรณีศึกษา
             -  การอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้ในชั้นเรียน
             -  ผลการสอบกลางภาค และสอบปลายภาค
-  เสริมสร้างความสามารถในการทำงานเป็นทีม มีการแบ่งแยกหน้าที่อย่างชัดเจน
               -  เสริมสร้างทักษะในการติดต่อประสานงานเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ได้รับมอบหมาย
               -  เสริมสร้างความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
               - เสริมสร้างความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง
-  จัดกลุ่มนักศึกษาในชั้นเรียน และมอบหมายงานในแต่ละบทเรียน
-  ประเมินจากการส่งงานตามกำหนด
               -  ประเมินจากการรายงานผลความก้าวหน้างานที่มอบหมายเป็นระยะ
    -  ประเมินจากผลการประเมินตนเองและกลุ่ม
                       -  สามารถคำนวณภาษีที่ต้องชำระต่อสำนักงานสรรพากรในกรณีต่างๆ  ได้อย่างถูกต้อง และแม่นยำ
                       -  สามารถคำนวณภาษีกรณีต่าง ๆ ในโปรแกรมสำเร็จรูปที่ทางสรรพากรกำหนดได้อย่างถูกต้อง
                       -  จัดให้ทำแบบฝึกหัดและแบบทดสอบย่อยรายบุคคล
          -  มอบหมายกรณีศึกษารายกลุ่ม
                         -  ประเมินจากผลการทำแบบฝึกหัดและแบบทดสอบย่อย
                     -  ประเมินผลจากการวิเคราะห์และนำเสนอกรณีศึกษา
-
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม - ประเมินผลจากรายงานที่นักศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติม - ประเมินผลจากการส่งงานตามกำหนด - ประเมินผลจากการทำแบบทดสอบ ก่อนเรียนและหลังเรียน 1-7 10 %
2 ด้านความรู้ ประเมินผลจากใบงานสรุปเนื้อหาที่ ต้องส่งก่อนเรียนในแต่ละหัวข้อ - ประเมินจากแบบฝึกหัดและ กรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมาย - ประเมินจากการอภิปรายหน้าชั้นเรียน - ประเมินจากการทดสอยย่อย 1-7 40 %
3 ด้านทักษะทางปัญญา - รายงานจากการทำกรณีศึกษา - การนำเสนอกรณีศึกษา - ผลการทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค 1-7 20 %
4 ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ - ประเมินจากการส่งงานตามกำหนด - ประเมินจากการรายงานผลความ ก้าวหน้างานที่มอบหมายเป็นระยะ - ประเมินจากผลการประเมินตนเอง และกลุ่ม 1-7 20 %
5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี - ประเมินจากผลการทำแบบฝึกหัดและ แบบทดสอบย่อย - ประเมินผลจากการวิเคราะห์และ นำเสนอกรณีศึกษา 1-7 10 %
   - ข้อมูลจากสำนักงานสรรพากร www.rd.go.th
- เอกสารประกอบการสอน
ไม่มี
วารสารนักบัญชี เวปไซต์กรมสรรพากร
การประเมินประสิทธิภาพของรายวิชาในส่วนของนักศึกษาผู้เรียนในแต่ละหมู่นั้น ผู้สอนของทุกหมู่เรียนจะประชุมตกลงกันในกิจกรรมที่จะดำเนินการเพื่อให้ได้รับผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชาที่สอนในแนวทางเดียวกัน และนำมาวิเคราะห์เพื่อการวางแผนการปรับปรุงต่อไป
          กิจกรรมที่จะนำไปสู่การประเมินประสิทธิภาพของรายวิชาโดยนักศึกษา  ได้แก่
          1.1  ผู้สอนจัดกิจกรรมพบนักศึกษาเป็นกลุ่มซึ่งใช้กลุ่มที่ได้จัดไว้ในการมอบหมายงานกรณีศึกษา   เพื่อให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในสาระเกี่ยวกับประสิทธิภาพของการเรียนการสอนที่ดำเนินอยู่
             1.2  ผู้สอนติดตามผลการมอบหมายงานของนักศึกษาแต่ละกลุ่มเป็นระยะ เพื่อให้เกิดความก้าวหน้าและปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในการทำงาน
          1.3  ผู้สอนมอบหมายให้ นักศึกษาแต่ละคนเขียนบันทึกแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการเรียนการสอนที่ดำเนินอยู่
          1.4  จัดให้มีการประเมินผู้สอนและประเมินรายวิชาโดยใช้แบบประเมินโดยส่วนกลางก่อนสอบกลางภาค เพื่อให้ผู้สอนได้ทราบและสามารถปรับปรุงได้ในภาคการศึกษานั้น หากผลการประเมินพบว่าควรมีการปรับปรุง
การประเมินการสอนโดยผู้ร่วมทีมการสอนและผู้ทรงคุณวุฒิ ดำเนินการ ดังนี้
             2.1  การประเมินการสอนโดยผู้ร่วมทีมการสอนดำเนินการโดยให้ผู้สอนได้เข้าสังเกตการณ์การสอนของหมู่เรียนอื่น แล้วนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันพร้อมข้อเสนอแนะ
          2.2  การประเมินการสอน โดยผู้ร่วมทีมการสอนร่วมกันออกข้อสอบและใช้ข้อสอบชุดเดียวกันทดสอบผู้เรียนเพื่อวัดผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านตามที่ระบุ
          2.3  การประเมินการสอนโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ดำเนินการทวนสอบข้อสอบก่อนนำไปใช้ โดยให้ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาและเห็นชอบข้อสอบก่อนนำไปใช้
-การวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
-การวางแผนภาษีเงินได้นิติบุคคล
-การวางแผนภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
และภาษีอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและได้รับผลกระทบ ที่ใช้ในปี 2565 เนื่องจากนโยบายปรับลดของรัฐบาลตามสถานการณ์โควิด -19   
 
การปรับปรุงการสอน ดำเนินการดังนี้
          4.1  จัดให้มีการสัมมนาเพื่อร่วมกันหาแนวทางหรือวางแผนการพัฒนารายวิชา โดยนำผลการประเมินประสิทธิภาพรายวิชา ผลการประเมินการสอน ผลการสอบ และข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง มาใช้ประกอบการพิจารณา
          4.2  จัดให้มีการวิจัยในชั้นเรียน หรือ การรายงานการปฏิบัติงานสอน ทุกสัปดาห์
จากผลการประเมินประสิทธิภาพในข้อ 1. และ ข้อ2. ดังกล่าวแล้วข้างต้น รวมทั้งการนำไปปรับปรุงการสอนในข้อ 3. แล้วนั้น เพื่อให้การสอนของรายวิชานี้มีคุณภาพอันนำไปสู่การผลิตบัณฑิตทางการบัญชีที่มีคุณภาพตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาการบัญชีและการเงิน ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน ดังนี้
          5.1  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน โดยการให้มีอาจารย์ผู้สอนเดิมอยู่อย่างน้อย ๑ คน แล้วจัดอาจารย์ผู้สอนใหม่เข้ามาหากสามารถดำเนินการได้ เพื่อให้ได้รับมุมมองใหม่จากอาจารย์ผู้สอนท่านใหม่
          5.2  ทบทวนและปรับปรุงหัวข้อการสอน กลยุทธ์การสอน วิธีการสอน วิธีการวัดผลและประเมินผล ฯลฯ ตามที่ได้รับจากผลการประเมิน