ระบบฐานข้อมูล

Database System

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล สถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูล แบบจำลองข้อมูล การวางแผน การออกแบบและการบริหารฐานข้อมูล  แบบจำลองอีอาร์ การนอร์มัลไลเซชั่น ฝึกปฏิบัติการใช้คำสั่งภาษาเอสคิวแอล
เพื่อปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตปัจจุบันได้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ ระบบฐานข้อมูล สถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูล แบบจำลองข้อมูล การวางแผน การออกแบบและการบริหารฐานข้อมูล  แบบจำลองอีอาร์ การนอร์มัลไลเซชั่น ฝึกปฏิบัติการใช้คำสั่งภาษาเอสคิวแอล
Study and practice of database system, database architecture,  data model, database planning, design and management, E-R model,  normalization and SQL.
    3.1 วันพุธ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องพักอาจารย์อาคาร 3  โทร  1151
    3.2  e-mail: wiraiwans@rmutl.ac.th

 
˜1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1. กำหนดให้นักศึกษาได้การทำงานเป็นกลุ่ม
1. ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ š2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหา
1. ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการวิเคราะห์กรณีศึกษา 2. ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
  2. การทำรายงานกลุ่มหรือเดี่ยว
 
š3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ ˜3.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
1. ให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม และนำมาอภิปรายกลุ่ม 2.  ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
1. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน 2.  ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานของนักศึกษา
˜4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ ˜4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม
1. ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง 2. กำหนดให้มีการทำงานกลุ่ม
1. ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา 2. ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา
š5.1  มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ š5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ ˜5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
1.มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และทำรายงานโดยอ้างอิงข้อมูลจากแหล่งที่มาที่น่าเชื่อถือ 2. ให้นักศึกษาได้นำความรู้ไปไปแก้ปัญหาในกรณีศึกษาต่าง ๆ 3. ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
1. การจัดทำรายงาน และการนำเสนอ
  2. ประเมินจากผลงาน 3. ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหา 3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม 5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
1 BSCCT203 ระบบฐานข้อมูล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งตรงเวลา ทุกสัปดาห์ 5%
2 1.3, 4.1, 4.4 การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การแสดงความคิดเห็น ประเมินจากพฤติกรรมขณะทำกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
3 2.1,2.2 การสอบกลางภาค 8 30%
4 3.1, 3.2, 4.1, 4.4, 5.1, 5.2, 5.3 งานที่ได้รับมอบหมาย ใบงานและสอบย่อย ตลอดภาคการศึกษา 30%
5 2.1, 2.2 การสอบปลายภาค 17 30%
โอภาส  เอี่ยมสิริวงศ์. (2551). ระบบฐานข้อมูล (Database System) ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2555). การจัดการฐานข้อมูล. นนทบุรี: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

 
ผลการสอบ การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ การสังเกตความสนใจของนักเรียน การซักถามในห้องเรียน ผลการตรวจแบบฝึกหัด การบ้านและรายงาน
มีการค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลใหม่ๆ ที่ทันสมัย เช่น จากหนังสือที่แนะนำและเอกสารอ้างอิง ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์และอื่นๆ
          ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนรายวิชา  มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก  การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา  มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาดังนี้
-         การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ
-         มีการตั้งกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนน และการให้คะแนนพฤติกรรม
          ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4