ออกแบบสถาปัตยกรรม 1

Architectural Design 1

1.1 เข้าใจกระบวนการออกแบบสถาปัตยกรรมประเภทที่พักอาศัยขนาดเล็ก 1.2 เข้าใจวิธีการสารวจและวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ 1.3 เข้าใจทฤษฎีและแนวความคิดในการออกแบบ 1.4 มีทักษะในการออกแบบอาคารที่พักอาศัยขนาดเล็ก 1.5 มีจิตสานึกที่ดีต่อการออกแบบสถาปัตยกรรมที่มีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม
ด้านคุณธรรมจริยธรรม : - เน้นความมีวินัยและการตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานให้มากขึ้น ด้วยการกาหนดคะแนนในส่วนของพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานที่ครบถ้วนและตรงต่อเวลา ด้านความรู้ : - เน้นการค้นคว้าและใช้หลักการ/ทฤษฎีการออกแบบ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบสถาปัตยกรรม - จัดลาดับเนื้อหาการเรียนรู้ให้ต่อเนื่องกับการปฏิบัติงานออกแบบ - เน้นกระบวนการออกแบบที่คานึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างสถาปัตยกรรมและบริบทแวดล้อม ด้านทักษะทางปัญญา : - ปรับปรุงโปรแกรมออกแบบให้ชัดเจนและมีความซับซ้อนด้านประโยชน์ใช้สอยให้น้อยลง เพื่อฝึกทักษะปฏิบัติที่เน้นกระบวนการออกแบบที่ประยุกต์ความรู้ร่วมกับศาสตร์อื่น เพื่อให้ทาการวิเคราะห์โปรแกรมและออกแบบได้เหมาะสมกับเวลาเรียน - เน้นการออกแบบทางเลือกที่หลากหลาย และสามารถเลือกแนวทางที่เหมาะสมมากที่สุด ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ : - การแบ่งกลุ่มและเนื้อหางานที่ต้องรับผิดชอบให้มีความชัดเจน ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ : - เน้นการใช้ศัพท์เทคนิคทางวิชาการทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่ถูกต้อง - เน้นการวางแผนเนื้อหาและระยะเวลาในการนาเสนอผลงานให้มีความกระชับและชัดเจน ทั้งการนาเสนอในรูปแบบกราฟิก และการอธิบายแบบ (Oral Presentation)
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการออกแบบอาคารที่พักอาศัยขนาดเล็ก จัดทำกระบวนการออกแบบ โดยกำหนดองค์ประกอบโครงการ ขนาดพื้นที่ สำรวจและวิเคราะห์ที่ตั้ง กำหนดแนวความคิดและทำการออกแบบสถาปัตยกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ใช้สอย ความงาม โครงสร้าง วัสดุ วิธีการก่อสร้างและข้อกำหนดอาคารที่เกี่ยวข้อง
- อาจารย์ประจารายวิชา ประกาศเวลาให้คาปรึกษาในชั้นเรียน อาจารย์จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) ผ่านช่องทางการสื่อสารที่หลากหลาย
1.1.1 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1.1.2 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา อภิปราย/ถามตอบเกี่ยวกับประเด็นที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณในการออกแบบทางสถาปัตยกรรม ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.3.1 สังเกตพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตงานที่ให้และตรงเวลา 1.3.2 ประเมินจากผลการนาเสนองานออกแบบ
2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ มีความรู้ในทฤษฎีและหลักการออกแบบ เข้าใจขั้นตอนและวิธีการศึกษารวบรวมข้อมูล การกาหนดแนวความคิดในการออกแบบ การออกแบบร่างและการพัฒนาผลงานออกแบบให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ โดย 2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยาย อภิปราย/ถามตอบ พร้อมยกตัวอย่าง และศึกษาดูงานนอกสถานที่ 2.2.2 มอบหมายงานกลุ่มเพื่อจัดทาและนาเสนอรายงาน/กรณีศึกษา
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฏี เนื้อหาความรู้ที่เกี่ยวข้อง 2.3.2 ประเมินจากการนาเสนอรายงาน/กรณีศึกษา 2.3.3 ประเมินจากผลงานออกแบบโครงการ
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์และแก้ไขปัญหาทางการออกแบบ สามารถสร้างสรรค์และนาเสนอแนวความคิดในการออกแบบผลงานได้อย่างเหมาะสม โดย 3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.1.2 มีทักษะในการนาความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 การบรรยาย อภิปราย/ถามตอบ เพื่อแลกเปลี่ยน เสนอความคิดเห็น และการคิดวิเคราะห์ 3.2.2 การมอบให้นักศึกษาค้นคว้าโครงการที่กาหนดหัวข้อให้ โดยให้ศึกษาประเภทและรายละเอียดวิเคราะห์ อภิปราย สรุปผล 3.2.3 การทากระบวนการออกแบบ การจัดทาและพัฒนาแบบร่าง การเสนอผลงาน การออกแบบระยะสั้น
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยให้นาเสนอผลงานการออกแบบรายบุคคล เสนอแนวคิดและผลงานเป็นชิ้นงาน 3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนาเสนอผลงาน 3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา ความรู้ทางสถาปัตยกรรมและงานระบบ ความคิดสร้างสรรค์ ปริมาณและคุณภาพในการพัฒนาแบบร่าง
-
-
-
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ สื่อการสอน และทารายงานโดยเน้นการนาตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาของข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 5.2.2 นาเสนอโดยใช้รูปแบบและวิธีการสื่อสารที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินทักษะการใช้เครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสมจากผลงานและวิธีการนาเสนอ 5.3.2 ประเมินทักษะการสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสมจากผลงานและวิธีการนาเสนองาน
1. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
2. มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
 
1. สอนทฤษฎีเกี่ยวกับการออกแบบที่พักอาศัย สัดส่วนมนุษย์ กฎหมายรวมถึงเรื่องต่างๆที่เกี่ยวข้อง
2. ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติ การเขียนสัดส่วนมนุษย์ ลักษณะการใช้งานเฟอนิเจอร์ต่างๆ
3. ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติ Sketch Design เพื่อฝึกทักษะการออกแบบ
4. ให้นักศึกษาปฏิบัติการออกแบบ Project บ้านพักอาศัย ตามโจทย์ที่กำหนด
ประเมินผลตามผลงานของนักศึกษา ทั้งผลงานในแต่ละสัปดาห์ และผลงาน Project ปลายภาคเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3. 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BARAT101 ออกแบบสถาปัตยกรรม 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1 - สังเกตพฤติกรรมจากความตั้งใจ การตรงต่อเวลา การเข้าชั้นเรียน การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ความรับผิดชอบส่งงานตามกาหนดเวลา ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 2 เก็บคะแนนจากการทารายงานและการนาเสนอ สอบกลางภาคและสอบปลายภาค ตลอดภาคการศึกษา 25 %
3 3 เก็บคะแนนจากการวิเคราะห์ข้อมูลรายละเอียดโครงการ การพัฒนาแบบร่าง การออกแบบเขียนแบบและจัดทาหุ่นจาลอง ตลอดภาคการศึกษา 30 %
4 4 สอบกลางภาค สัปดาห์สอบกลางภาค 15 %
5 5 การนาเสนอผลงานออกแบบขั้นสมบูรณ์ 17 20%
เอกสารและหนังสือประกอบการเรียน 1.อรศิริ ปาณินท์ 2538 กระบวนการออกแบบทางสถาปัตยกรรม ปทุมธานี:สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรังสิต 2.อรศิริ ปาณินท์ 2538 มนุษย์กับการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรม กรุงเทพฯ:สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรังสิต 3.อรศิริ ปาณินท์ 2538 ที่ว่างทางสถาปัตยกรรม กรุงเทพฯ:สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรังสิต 4.ผุสดี ทิพทัส 2540 เกณฑ์การออกแบบทางสถาปัตยกรรม กรุงเทพฯ:สานักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5.บัณฑิต จุลาสัย 2544 จุด เส้น ระนาบ กรุงเทพฯ:สานักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 6.เลอสม สถาปิตานนท์ 2544 บ้านและการออกแบบ กรุงเทพฯ:สานักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 7. ศักดา ประสานไทย 2549 วัสดุและการออกแบบ กรุงเทพฯ:สานักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 8. กิติ สินธุเสก. การออกแบบภายในขั้นพื้นฐาน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550. 9. วิมลสิทธิ์ หรยางกูร, ศาสตราจารย์. การจัดทารายละเอียดโครงการเพื่อการออกแบบงานสถาปัตยกรรม. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541. 10. เลอสม สถาปิตานนท์, ศาสตราจารย์. มิติสถาปัตยกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ลายเส้น, 2554.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คาอธิบายศัพท์ กฎหมายควบคุมอาคาร กระบวนการออกแบบสถาปัตยกรรม แนวความคิดในการออกแบบพิพิธภัณฑ์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.2 ข้อเสนอแนะผ่านช่องทางการสื่อสารที่อาจารย์ผู้สอนและนักศึกษาได้ตกลงให้เป็นช่องทางการสื่อสารร่วมกัน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
คณาจารย์นาผลการประเมินการสอนมาวิเคราะห์และปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา การตรวจแบบร่าง หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการประกาศผลคะแนนการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยคณาจารย์ผู้สอนร่วมกันพิจารณา 4.2 ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอาจจัดให้มีการตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา ซึ่งอาจใช้การตรวจสอบจากผลงาน ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชา โดยใช้ผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ใช้ความรู้ เพื่อการแก้ปัญหาที่มาจากประสบการณ์ปฏิบัติวิชาชีพหรือการวิจัยของอาจารย์