ออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน 5

Interior Architectural Design 5

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ขั้นตอน กระบวนการออกแบบและรวบรวมข้อมูล หลักการและองค์ประกอบในการออกแบบ แนวความคิด หน้าที่ใช้สอย ความสัมพันธ์ของพื้นที่ภายใน การออกแบบสากล และงานระบบที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนสามารถบูรณาการหน้าที่ใช้สอยทั้งโครงการ ทำการวิเคราะห์โครงการ ศึกษากรณีศึกษาจริง จนถึงมีทักษะปฏิบัติการออกแบบอาคารสาธารณะประเภท ศูนย์การค้า โรงแรม และโรงพยาบาล
ไม่มี
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการออกแบบงานสถาปัตยกรรมภายในของอาคารสาธารณะประเภทเชิงธุรกิจ เช่นศูนย์การค้า โรงแรม และโรงพยาบาล จากการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลผู้ประกอบการจริง กระบวนการออกแบบ หลักการและองค์ประกอบในการออกแบบ แนวความคิด หน้าที่ใช้สอย  ความสัมพันธ์ของพื้นที่ภายใน และงานระบบที่เกี่ยวข้อง ศึกษาเปรียบเทียบกรณีศึกษาจริง และศึกษาดูงาน
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
   (1)   มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม  จริยธรรม
   (2)   มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
              (3)   มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา  และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและ สิ่งแวดล้อม
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็น มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม การมีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม

1.1.2 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับมีความซื่อสัตย์ในวิชาชีพ เช่น การไม่คัดลอกแนวคิด ผลงานการออกแบบ และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา
อภิปรายกลุ่ม
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาและการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
 
(1)                    มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหา
ที่ศึกษา
    (2)   สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่
  ศึกษา
                   (3)   สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง         
   
2.2.1   บรรยายแนวคิด สไตล์ในการออกแบบ ประโยชน์ใช้สอยองค์ประกอบการ
ออกแบบที่สำคัญ ต่างๆ พร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็น แนวคิด ประโยชน์ใช้สอย และองค์ประกอบต่างๆ
2.2.2   บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นแนวความคิดสไตล์ในการ
ออกแบบหลักการ ทฤษฎีการออกแบบ และกระบวนการออกแบบต่างๆ
2.2.3   อภิปรายกลุ่มเกี่ยวกับประเด็นแนวคิด การนำเสนอข้อมูล หลักการออกแบบ
2.2.4  กำหนดให้นักศึกษาการนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา ฝึกปฏิบัติการออกแบบสถาปัตยกรรมภายในอาคารพักอาศัยลักษณะพิเศษ
2.2.5มอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
                                   (1)   มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือ                                        วิชาชีพ
                                   (2)   มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1   การมอบโครงงานพิเศษ และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญให้นักศึกษาทำที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
  3.2.2การนำเสนอข้อมูล อภิปรายกลุ่มเกี่ยวกับประเด็นแนวความคิด ตามหลักการและทฤษฏีสไตล์ในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายในอาคารพักอาศัยลักษณะพิเศษ ที่เหมาะสม
  3.2.3   กำหนดให้นักศึกษาการนำเสนอผลงาน การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมินผล ตามหลักการและทฤษฏี
3.3.1   สอบปลายภาค  โดยเน้นการนำเสนอ การวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา โครงการที่เหมาะสม
3.3.2   วัดผลจากการประเมิน การนำเสนอ แนวคิด การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินผล
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
                        (3)   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
                         (4)   สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น แนวคิด การนำเสนอข้อมูล หลักการออกแบบ การ วิเคราะห์และจำแนกหลักการ ทฤษฎี และกระบวนการออกแบบต่างๆ หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา และนำเสนอรายงาน
4.3.1  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3  ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
(1)              สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
(2)   สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
                 (3)   สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมี
  ประสิทธิภาพ
5.2.1   สืบค้นข้อมูล ด้านประโยชน์ใช้สอยของสถาปัตยกรรมภายในอาคารพักอาศัยลักษณะพิเศษ
5.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล ให้ค้นคว้าศึกษา ทำรายงานและอภิปรายกลุ่ม เกี่ยวกับการวิเคราะห์ประโยชน์ใช้สอย และการสังเคราะห์ทางการออกแบบสถาปัตยกรรมภายในอาคารสาธารณะประเภท ศูนย์การค้า พิพิธภัณฑ์ และโรงพยาบาลและนำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ เทคโนโลยี และการสื่อสารที่เหมาะสม
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
                                   (1)   มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
                                   (2)   มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
                                   (3)   มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
                6.2.1   ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษา โครงงานและศิลปนิพนธ์   สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและ สิ่งแวดล้อม มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหา ที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมี ประสิทธิภาพ มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BARIA105 ออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน 5
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม - ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่ - มอบหมายและการร่วมกิจกรรม - ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร - ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ - ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 1, 2-7,8,12-16 30
2 ความรู้ - ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี - วัดพฤติกรรมการเข้าเรียน - วัดผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลามีการสอบวัดประเมินผล 1, 2-7,8,12-16 30%
3 ทักษะทางปัญญา - ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี - วัดพฤติกรรมการเข้าเรียน - วัดผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลามีการสอบวัดประเมินผล - สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา 1, 2-7,8,12-16 25
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ - ประเมิน ด้วยการทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลาย - ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขต - ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน - การนำเสนอผลงานจากการวิเคราะห์ระบบโครงสร้าง 1, 2-7,8,12-16 5
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - ประเมิน ด้วยการทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลาย - ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขต - ประเมินผลงาน การนำเสนอผลงานจากการวิเคราะห์ระบบโครงสร้าง - ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนการอภิปรายและวิธีการอภิปราย 1, 2-7,8,12-16 5
6 ด้านทักษะพิสัย ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน 1, 2-7,8,12-16 5
Francis D.K. Ching. Interior Design Illustrated. United States of America: Van Nostrand Reinhold, 1943
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
          4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
           4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
          5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
         5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ