การตลาดดิจิทัล

Digital Marketing

1. เข้าใจเกี่ยวกับหลักการและการดำเนินกิจกรรมผ่านการตลาดดิจิทัล
2. สามารถกำหนดกลยุทธ์การตลาดดิจิทัล
3. สามารถออกแบบและสร้างร้านดิจิทัล
4. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีต่อการศึกษาเรียนรู้และประยุกต์ใช้ด้วยความรับผิดชอบความซื่อสัตย์สุจริต มีความคิดสร้างสรรค์ ความสนใจใฝ่รู้ ความขยัน ความประหยัด ความเชื่อมั่นในตนเองและมีมนุษยสัมพันธ์
เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงความสำคัญของงานด้านการตลาดอิเล็กทรอนิกส์ในยุคปัจจุบัน การวางแผนการตลาดดิจิทัลเพื่อการนำเสนอสินค้าและบริการอย่างเหมาะสม  และสามารถใช้ทักษะและความรู้ด้านสารสนเทศมาใช้กับโครงงานที่ได้รับมอบหมายอย่างสัมฤทธิผล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาดผ่านสื่อดิจิทัล การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมด้านการตลาดดิจิทัล การวิเคราะห์รูปแบบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การวิเคราะห์ พฤติกรรมผู้บริโภคและสร้างฐานข้อมูล การใช้เครื่องมือทางการตลาดดิจิทัล การวางแผนและการพัฒนากลยุทธ์การตลาดดิจิทัลเพื่อเป็นช่องทางการขายและการสื่อสารการตลาด ระบบอัตโนมัติและปัญญาประดิษฐ์ทางการตลาดเพื่อนำมา ประยุกต์ใช้ในองค์กรธุรกิจและอำนวยความสะดวกในการประกอบธุรกิจ การวัด ประสิทธิผลของเครื่องมือการตลาดดิจิทัล จริยธรรมสำหรับการตลาดดิจิทัล
-  อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ  
-  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม
4. เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
2.  สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา
3.  ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
4.  กำหนดงานเป็นกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมี ส่วนร่วม และแสดงความคิดเห็น
5.  เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้กับชุมชน
6.  สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
1.  การเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
3.  การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
4.  การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
7.  ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2. สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชา ที่ศึกษา
3. สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.  จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
4.  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
5.  ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
6.  การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ
1.  การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 5.  ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา 7.  ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน  การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
1. มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการน าความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
6.  การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น 7.  จัดให้ในรายวิชา มีกิจกรรมที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาว์ปัญญา ความคิด   การวิเคราะห์ และสังเคราะห์ด้านต่าง ๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา
4.  ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา 6.  ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
3. สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
1. จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและ การอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป 4.  มอบหมายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง 5.  มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคล อื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา 6.  มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
1.  การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค  2. พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา 7.สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
1. เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
2. สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3. ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและ สอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
1.  สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง 2.  จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากกรณีศึกษา 5.  ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ ในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ได้ 6.  มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.  การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค 2.  ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม 4.  ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.  สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
2.  จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ  บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 4. จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผล การดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
2. พฤติกรรมที่แสดงออก ในการเข้าร่วมกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้นักศึกษา มีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 4 การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4
1 BBABA636 การตลาดดิจิทัล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1,2.1.2 การทดสอบ -การสอบกลางภาค -การสอบปลายภาค 9และ17 30% 30%
2 2.1.1,2.1.2,3.1.1,3.1.2, 4.1.1,4.1.2, 5.1.1,5,1.2, 5.1.3 การวิเคราะห์กรณีศึกษา การค้นคว้า การนำเสนอรายงาน -การทำรายงาน/โครงการวิจัย/งานที่มอบหมาย -การส่งงานตามกำหนดเวลา ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.1.1,1.1.2, 1.1.3 การเข้าชั้นเรียน -การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ภาวุธ  พงษ์วิทยภานุและคณะ.E-Marketing เจาะเทคนิคการตลาดออนไลน์. กรุงเทพ ฯ: ตลาด ดอท คอม, 2551.
2. เอกสาร และข้อมูลสำคัญ  กุลฉัตร  ฉัตรกุล  ณ  อยุธยา.ระบบสารสนเทศทางการตลาด.  เชียงใหม่ :  ภาควิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยพายัพ,  2550. พันจันทร์ ธนวัฒนเสถียรและกรภัทร สุทธิดารา, อินเทอร์เนตและอินทราเนต , กรุงเทพฯ: ดวงกมลสมัย. วัชรพงศ์  ยะไวทย์, e-Commerce และกลยุทธ์การทำเงินบนอินเทอร์เนต , กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น ,2543. ศูนย์พัฒนาพาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์ , E-Commerceในธุรกิจจริง-เรียนรู้จากกรณีศึกษาเด่นทั่วโลก, พิมพ์ครั้งที่ 1  : ซีเอ็ดยูเคชั่น  , 2545.    แมคแคลเรนและแมคแคลแรน , แบบฝึกหัดเพื่อการปฏิบัติจริง พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ธุรกิจบนอินเทอร์เนต , (แปลและเรียบเรียง โดย ECRC, NECTEC, NSTDA) : กิเลนการพิมพ์ ,2544. แอนดริว  เอส  ทาเนนบวม , เครือข่ายคอมพิวเตอร์ , (สัลยุทธ์ สว่างวรรณ, ผู้แปล), กรุงเทพฯ:  เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น , อินโดไชน่า , 2542. อาณัติ ลีมัคเดช , E-Commerce เรียนรู้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ภาคทฤษฎีและปฏิบัติ,กรุงเทพฯ : เอ.อาร์ บิซิเนสเพรส , 2546. ชาร์ลส์  เทรปเปอร์, ก้าวสู่ความเป็นหนึ่ง กับ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์, (อุไรวรรณ ชัยวิริยะกุล,ผู้แปล),กรุงเทพฯ : สามย่าน.com, 2544. อิทธิวัฒน์ รัตนพองบุ่,การตลาดอิเล็กทรอนิกส์,กรุงเทพฯ: พิมพ์ครั้งที่ 1 สำนักพิมพ์ วิตตี้กรุ๊ป,2555 E. Turban.,Electronic Commerce 2002 ; A Managerial Perspective, New Jersy :Prentice Hall , 2002. Judy  Strauss and Raymond  Frost., E - Marketing  2nded. , New Jersy : Prentice Hall , 2001.   Kotler  Phillip , Dipak C. Jain and Suvit Maesincee , Marketing Moves , : HBS. Press , 2001.           
http://mkpayap.payap.ac.th/course/MK424/ /MK424homepage.HTM หนังสือพิมพ์ธุรกิจต่าง ๆ เช่น ประชาชาติธุรกิจ ฐานเศรษฐกิจ ผู้จัดการ ฯลฯ  วารสาร นิตยสาร บทความหรืองานวิจัยต่าง ๆ ทางการตลาด และ เว็บไซด์ทางธุรกิจ  
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้  ที่จัดทำโดยนักศึกษา  ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้                
1.1   การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน                
1.2   แบบประเมิลผู้สอน  และแบบประเมินรายวิชา        
1.3    การติดต่อ ปรึกษา ส่งงานทางอีเมล์ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน  ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้              
 2.1  ผลการเรียนของนักศึกษา                
2.2  ผลงานกลุ่มของนักศึกษา              
2.3  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้              
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน              
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชา ได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น  4.2  การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน  เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการตลาดให้มีความหลากหลายมากขึ้น