การปฏิบัติวิชาชีพ

Professional Practice

1.1 เข้าใจกระบวนการปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรมภายใน การบริการวิชาชีพ ในทุกขั้นตอน
1.2 เข้าใจข้อกำหนดตามมาตรฐานวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ ระเบียบข้อบัญญัติ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ
1.3 เข้าใจการเริ่มต้นธุรกิจ และการบริหารจัดการองค์กร
เพื่อพัฒนาลำดับเนื้อหาการสอน รายละเอียดเนื้อหาการสอน ให้ครบถ้วนและทันสมัย ปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหา และ สามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรมภายใน
ศึกษากระบวนการปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรมภายใน การบริการวิชาชีพ ในทุกขั้นตอน ศึกษาข้อกำหนดวินัยตามมาตรฐานวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ ให้เป็นไปตาม ระเบียบข้อบัญญัติ ทางกฎหมาย ทั้งในและต่างประเทศ
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเรื่องการวัดและประเมินผลการเรียนในชั่วโมงแรก
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องการพัฒนา มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ

มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและ สิ่งแวดล้อม
อบรมนศ.ด้านคุณธรรม จริยธรรม นักศึกษาเรียนรู้จากสถาปนิกวิชาชีพที่รับเชิญเป็นวิทยากร กรณีศึกษาด้านคุณธรรม จริยธรรมมาถ่ายทอด

มอบหมายงานกลุ่มเพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาในชั้นเรียน พฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงาน การดูแลห้องเรียนและสภาพแวดล้อม การทดสอบเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม

พฤติกรรมการทำงานนักศึกษาเรียนรู้จากสถาปนิกวิชาชีพ
2.1 ความรู้ ที่ต้องการพัฒนา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยาย อภิปราย จำลองสถานการณ์ สอบถามเพื่อทบทวนความรู้
2.2.2 มอบหมายงานกลุ่ม
2.2.3 สอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบวัดความรู้ ความเข้าใจในหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ผลงานที่มอบหมายมีความรู้เข้าใจเกี่ยวกับวิชาชีพ
2.3.3 การอภิปราย รายงานในชั้นเรียน และการนำเสนอผลงานสามารถบูรณาการความรู้ที่ได้ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
 
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2.1 บรรยายโดยเน้นการสร้างความเข้าใจ และกระตุ้นให้นักศึกษาร่วมคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล
3.2.2 อภิปรายร่วมกับสถาปนิกวิชาชีพที่ได้รับเชิญเป็นวิทยากรเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและพัฒนาปัญญา
3.2.3 มอบหมายงานที่ต้องค้นคว้าและวิเคราะห์ร่วมกัน
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่วัดความเข้าใจ การคิดวิเคราะห์เชิงเหตุผล
3.3.2 ผลงานที่นำเสนอมีองค์ความรู้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 แบ่งกลุ่มร่วมอภิปราย เพื่อพัฒนาบทบาทผู้นำและผู้ตาม
4.2.2 มอบหมายงานกลุ่ม เพื่อพัฒนาความสัมพันธ์และความรับผิดชอบของนักศึกษา
4.3.1    สังเกตพฤติกรรมการศึกษาและการอยู่ร่วมกันของนักศึกษาในชั้นเรียน
4.3.2    ประเมินภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามจากการทำงานกลุ่มที่มอบหมาย
4.3.3    ประเมินการทำงานเป็นทีมจากงานกลุ่มที่มอบหมาย
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 ฝึกทักษะการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
5.3.1 ประเมินทักษะนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน ผลงานและสื่อนำเสนองาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา 2. ความรู้ 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและ สิ่งแวดล้อม มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
1 BARIA403 การปฏิบัติวิชาชีพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 นักศึกษาและอาจารย์ร่วมกันอภิปลาย ข้อสรุปของแต่ละบทเรียน การนำไปใช้ในชีวิต ประจำวัน 1 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาในชั้นเรียน 2 พฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงาน การดูแลห้องเรียนและสภาพแวดล้อม 3 การทดสอบเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 4 พฤติกรรมการทำงานนักศึกษาเรียนรู้จากสถาปนิกวิชาชีพ ตลอดภาคการศึกษา 13-16 10% 10%
2 ความรู้ 1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบวัดความรู้ ความเข้าใจในหลักการและทฤษฏี 2 ผลงานที่มอบหมายมีความรู้เข้าใจเกี่ยวกับวิชาชีพ 3 การอภิปราย รายงานในชั้นเรียน และการนำเสนอผลงานสามารถบูรณาการความรู้ที่ได้ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 9,11,18 16 30%
3 ทักษะทางปัญญา 3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่วัดความเข้าใจ การคิดวิเคราะห์เชิงเหตุผล 3.3.2 ทดลองทำข้อสอบเพื่อขอใบประกอบวิชาชีพ 3.3.3 ผลงานที่นำเสนอมีองค์ความรู้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ 9,11,18 30%
4 ทักษะ ความสัมพันธ์ระหว่งบุคคลและความรับผิดชอบ 1 สังเกตพฤติกรรมการศึกษาและการอยู่ร่วมกันของนักศึกษาในชั้นเรียน 2 ประเมินภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามจากการทำงานกลุ่มที่มอบหมาย 3 ประเมินการทำงานเป็นทีมจากงานกลุ่มที่มอบหมาย 13 14 15 16 10%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิง การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองาน 16 10%
เอกสารประกอบวิชา การปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรม รศ.วีระ บูรณากาญจน์

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พฤษภาคม 2529

การปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรม รศ.อวยชัย วุฒิโฆสิต

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พฤษภาคม 2544

คู่มือสถาปนิก สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมป์ 2537 กฎหมายอาคาร เล่ม 1-2 อาษา สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมป์
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น
htpp://www.asa.or.th/
htpp://www.winyou.net/
htpp://th.youtube
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การทดสอบความรู้4ครั้ง ได้แก่
การทดสอบย่อย การทดลองทำข้อสอบใบประกอบวิชาชีพ การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค การประเมินความรู้จากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกต
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 จากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกและผู้ประกอบการ
2.4 ผลการทวนสอบรายวิชา
2.4 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาของนักศึกษา
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 เพิ่มการเชิญวิทยากรมาบรรยายในหัวข้อที่เกี่ยวกับประสบการณ์การทำงาน
มากขึ้นเป็น3ครั้ง
3.2 ปรับเนื้อหาการสอนมุ่งให้นศ.จบไปเป็นผู้ทำงานอิสระ และมีความเป็นผู้ประกอบการ
มากขึ้น
3.3 เปลี่ยนการศึกษาข้อมูลจากสถานประกอบการ เป็น จากผู้ประกอบการ และลดจำนวน
นศ.ต่อกลุ่มจาก4-5คน เป็น กลุ่มละ2คน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำวิชา
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 การเชิญอาจารย์ผู้สอนท่านอื่นๆ มาบรรยายในหัวข้อต่างๆบ้างเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์
5.3 เชิญอาจารย์ หรือวิทยาการศิษย์เก่ามาเล่า รายละเอียด และกระบวนการสอบใบประกอบวิชาชีพ
5.4 เชิญวิทยากร ผู้ประกอบวิชาชีพ สถาปนิก เข้าร่วมอภิปรายแลกเปลี่ยนทัศนคติในการประกอบวิชาชีพกับนักศึกษา