เทคโนโลยีการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรมพลังงาน

Industrial Energy Crops Production Technology

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญของเทคโนโลยีการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรมพลังงาน การปลูกพืชพลังงาน ชนิดของพืชพลังงาน และความสำคัญของพืชพลังงานทดแทน
- เพื่อเสริมความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับพืชพลังงานทดแทนในนักศึกษา - เพื่อให้รายวิชามีความทันสมัยมากยิ่งขึ้น เพื่อให้ทันต่อสถานการณ์ในปัจจุบัน
3.1 จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล โดยนักศึกษาสามารถเข้าพบอาจารย์ผู้สอนเพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำได้ทุกวันพุธ เวลา 14.00 - 17.00 น. ณ ห้องพักอาจารย์ หรือ 3.2 นักศึกษาขอคำปรึกษาและคำแนะนำได้ทาง Line:kittituch E-mail:kittituch_thu@rmutl.ac.th เบอร์โทร 086-8272255
- มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ - มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
- การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) โดยให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น และการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย - การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) โดยมีการสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมการยกย่องนักศึกษา/บุคคลที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวมและเสียสละ - กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนสม่ำเสมอ - ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายและมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
    - ร้อยละ 95 ของนักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา     - ร้อยละ 95 ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย และที่อาจารย์กำหนด     - ร้อยละ 99 นักศึกษาส่งงานมอบหมายตามเวลาที่กำหนด     - ร้อยละ100 นักศึกษาไม่มีการทุจริตในการสอบ
1) มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ   2) มีความรอบรู้
1) กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)      - มอบหมายนักศึกษาไปค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับพืชพลังงานและจัดทำเป็นรายงานตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน 2) การสอนแบบบรรยาย 3) การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 4) การสอนในห้องปฏิบัติการ 
1) การนำเสนองาน        - ประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย 2) การทดสอบ         - โดยทำการทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค 3) สังเกตการณ์มีส่วนร่วมในชั้นเรียนในการตอบคำถาม 4) การปฏิบัติการตามบทปฏิบัติการ 5) การรายงานผลการปฏิบัติการ
1) สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ 2) สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3) ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้
1) การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)    - ฝึกวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา 2) การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) - ฝึกวิเคราะห์ปัญหาจากกรณีศึกษา โดยให้ไปค้นคว้าจากเอกสารต่าง ๆ ร่วมกับการค้นคว้าจากฐานข้อมูล และการแสดงความคิดเห็น
 
1) สังเกตการณ์การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การวิเคราะห์ปัญหา และการแสดงความคิดเห็น 2) การทดสอบ         - โดยทำการทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
1) ภาวะผู้นำ 2) มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ
การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)    -มอบหมายให้นักศึกษาเรียนรู้และทำงานร่วมกับกลุ่มฮักเมืองน่าน ในการทำกิจกรรมตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ร่วมกับกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ชุมชน โดยทำงานเป็นกลุ่ม
1)การสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรม 2) รายงานผลการตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ชุมชน
1) มีทักษะการสื่อสาร 2) มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
1) การสอนแบบ  Problem Base Learning โดยกำหนดให้สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต และต้องค้นคว้าจากวารสารหรือฐานข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษอย่างน้อย 1 เรื่อง 2) แนะนำและสาธิตการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 3) การนำเสนองานด้วยวาจาและ PowerPoint
การนำเสนองาน โดยประเมินความเหมาะสมและถูกต้องของ         - สื่อที่ใช้         - เนื้อหาที่นำเสนอ           - ภาษาที่ใช้                   - การตอบคำถาม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2
1 BSCAG144 เทคโนโลยีการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรมพลังงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา - การเข้าชั้นเรียน - การส่งรายงานตรงเวลา - การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด 1-17 5%
2 ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ 1) การทดสอบ - โดยทำการทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค 1) การทดสอบ - โดยทำการทดสอบย่อย สัปดาห์ที่ 4, 8 12, 16 สอบกลางภาค สัปาดห์ที่ 8 และสอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 17 3) สังเกตการณ์มีส่วนร่วมในชั้นเรียนในการตอบคำถาม 70%
3 ความรู้ความเข้าใจ ทักษะทางด้านปัญญา การส่งรายงาน ความถูกต้องของรายงาน เนื้อหาของรายงาน ความถูกต้อง ความเนื้อเชื่อถือ ความหลากหลาย และปริมาณของเอกสารอ้างอิงที่ใช้ในรายงาน 16 5%
4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองาน - ประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย 16 15%
Bassam. N. El. 2010. Handbook of bioenergy crop; A complete reference  to species, development and applications. London, Washington DC. USA.
Balagopalan C. 2002. Cassava utilization in food, feed and industry. In: Hillocks RJ, Thresh JM, Bellotti AC (eds), Cassava: Biology, Production and Utilization, CABI Publishers, Wellingford, Oxon, United Kingdom, pp 301–318
Choi G., H.W. Kang, S.K. Moon and B.W. Chung. 2010. Continuous ethanol production from cassava through simultaneous saccharification and fermentation by self-flocculating yeast Saccharomyces cerevisiae CHFY0321. Appl Biochem Biotechnol 160:1517–1527
Suksri P, Y. Moriizumu, H. Hondo and Y. Wake. 2007. An introduction of bio-ethanol to Thai economy (I)—A sur- vey on sugarcane and cassava fields. Digital Asia Discussion Paper series, DP07-03
Erie, L.J., O.F. French, D.A. Bucks and K. Harris. 1981. Consumptive use of water by major crops in the south- western United States. USDA. Conservation Research Report No. 29. Phoenix, Ariz. 42 pp
 
Zulkifli A.R., M. Ropandi, M. Ravi and K.H. Halim. 2006. Gasification technology using palm oil biomass for producer gas production. In: Proceedings of the 2006 National Seminar on Palm Oil Milling, Refining Technology, Quality and Environment, Crowne Plaza Riverside, Kuching, Sarawak, Malaysia, August 14–15, 2006
 
Quah S.K. and D. Gillies. 1981. Practical experience in production use of biogas. In: Proceedings of National Workshop on Oil Palm By-Product Utilization. Palm Oil Research Institute of Malaysia, Kuala Lumpur, pp 119–125
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอนแบบออนไลน์และแบบผสมผสาน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุง
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินหรือจากการสังเกตการณ์สอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชาพืชศาสตร์
มหาวิทยาลัยจัดอบรมวิธีการเตรียมการสอนแบบออนไลน์ โดยใช้โปรแกรม RMUTL EDUCATION และ MICROSOFT TEAMS สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชาแล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียนนอกจากนี้ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมการประเมินผลการสอนแแบออนไลน์หรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไ
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนนโดยการสุ่มรายวิชาภายในรอบเวลาของหลักสูตร
โดยพิจารณาจากผลประเมินการสอนแบบออนไลน์ และแบบผสมผสาน โดยนักศึกษา,ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของสาขาวิชา,การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอนหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชาอาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชาเสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอ สาขาวิชา/คณะเพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป