คอมพิวเตอร์แบบสามมิติเพื่องานสถาปัตยกรรมภายใน

3D Computer Works for Interior Architecture

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ ประโยชน์การใช้งานโปรแกรม 3ds max design เพื่อประยุกต์ใช้ในการออกแบบและเขียนแบบงานทางด้านสถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมภายใน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจในการใช้โปรแกรม เพื่อเป็นพื้นฐานการนำโปรแกรมไปปรับใช้กับวิชาที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการของโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการเขียนแบบงาน 2 มิติและ 3 มิติ
-    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์  และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม ปลูกฝังความมีวินัยการตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบ ต่อตนเอง โดยเน้นการเข้าเรียน อธิบายข้อกำหนด ที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียน การลด-ถอนรายวิชา หากนักศึกษาไม่มีความพร้อมในการเรียน
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับงานด้านสถาปัตยกรรม

1.2.2 ปฏิบัติการใช้โปรแกรม
กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
1.3.1   ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลารับผิดชอบในปฏิบัติงานการประยุกต์ใช้โปรแกรม ภายในห้องเรียน
มีความรู้เกี่ยวกับคุณสมบัติของโปรแกรม 3d max design เพื่อช่วยในการออกแบบและเขียนแบบในลักษณะงาน 3 มิติ รวมทั้งโปรแกรมอื่นที่สามารถช่วยเสริมในการออกแบบสถาปัตยกรรม ฝึกปฏิบัติการเขียนภาพไอโซเมตริก (Isometric) ทัศนียภาพ (Perspective) ภาพเหมือนวัตถุจริง (Rendering) และภาพเคลื่อนไหว (Animation)ในการออกแบบงานสถาปัตยกรรม

2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับงานสถาปัตยกรรมของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาและ คุณสมบัติของโปรแกรม 3d max design เพื่อช่วยในการออกแบบและเขียนแบบในลักษณะงาน 3 มิติ รวมทั้งโปรแกรมอื่นที่สามารถช่วยเสริมในการออกแบบสถาปัตยกรรม ฝึกปฏิบัติการเขียนภาพไอโซเมตริก (Isometric) ทัศนียภาพ (Perspective) ภาพเหมือนวัตถุจริง (Rendering) และภาพเคลื่อนไหว (Animation)ในการออกแบบงานสถาปัตยกรรม
    2.2.2 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้องและนำเสนอผลงานเพื่อวิเคราะห์กรณีศึกษา
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินผลจากผลงานในการใช้โปรแกรม
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ โดยการใช้โปรแกรม 3d max design และ Autodesk Revit Architecture
  3.2.1 การมอบให้นักศึกษาทำงานเพื่อวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบและเขียนแบบงานสถาปัตยกรรม
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้โปรแกรม
3.3.2 วัดผลจากการประเมินผลงานการใช้งานโปรแกรม
4.1.2   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
            4.2.1 สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม  มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม   การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็นและการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ 
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม มีทักษะทางการสื่อสาร สามารถถ่ายทอดความรู้และนำเสนอผลงาน ทั้งการพูด การเขียนและการใช้สื่ออื่นๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และนำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม  
    5.3.1    ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูล
5.3.2   ประเมินจากการเลือกใช้เครื่องมือ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
          5.3.3   ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ
     6.1.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
               6.1.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
                6.2.1   ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษา โครงงานและศิลปนิพนธ์   สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
     6.3.1   ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1.1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม ปลูกฝังความมีวินัยการตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบ ต่อตนเอง โดยเน้นการเข้าเรียน อธิบายข้อกำหนด ที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียน การลด-ถอนรายวิชา หากนักศึกษาไม่มีความพร้อมในการเรียน 2.1.1 มีความรู้เกี่ยวกับคุณสมบัติของโปรแกรม 3d max design เพื่อช่วยในการออกแบบและเขียนแบบในลักษณะงาน 3 มิติ รวมทั้งโปรแกรมอื่นที่สามารถช่วยเสริมในการออกแบบสถาปัตยกรรม ฝึกปฏิบัติการเขียนภาพไอโซเมตริก (Isometric) ทัศนียภาพ (Perspective) ภาพเหมือนวัตถุจริง (Rendering) และภาพเคลื่อนไหว (Animation)ในการออกแบบงานสถาปัตยกรรม 2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับงานสถาปัตยกรรมของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ โดยการใช้โปรแกรม 3d max design และ Autodesk Revit Architecture 4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม มีทักษะทางการสื่อสาร สามารถถ่ายทอดความรู้และนำเสนอผลงาน ทั้งการพูด การเขียนและการใช้สื่ออื่นๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจได้ 6.1.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 6.1.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
1 BARIA402 คอมพิวเตอร์แบบสามมิติเพื่องานสถาปัตยกรรมภายใน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม 1. ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลารับผิดชอบในปฏิบัติงานการประยุกต์ใช้โปรแกรม ภายในห้องเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
2 ความรู้ 1. ประเมินผลจากการทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 2. ประเมินผลจากผลงานในการใช้โปรแกรมAutoCAD, Google SketchUp และAutodesk Revit Architecture ตลอดภาคการศึกษา 30
3 ทักษะทางปัญญา 1. สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้โปรแกรม 2. วัดผลจากการประเมินผลงานการใช้งานโปรแกรม ตลอดภาคการศึกษา 30
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1. ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ ตลอดภาคการศึกษา 5
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ประเมินจากงานการใช้โปรแกรมและรูปแบบการนำเสนอ 2. สังเกตทักษะในการใช้งานคอมพิวเตอร์เพื่อการเขียนแบบในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20
6 ด้านทักษะพิสัย 1. ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 5
คู่มือโปรแกรม 3d max design
เอกสารที่เกี่ยวข้องในการประยุกต์ใช้โปรแกรม
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือด้านสถาปัตยกรรม,สถาปัตยกรรมภายใน