สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นล้านนา

Lanna Vernacular Architecture

เพื่อให้นักศึกษา ทราบถึง ปรัชญา ความคิดความเชื่อ ตลอดจนศิลปวัฒนธรรม ประเพณี เข้าใจสถาปัตยกรรมภายนอก และภายใน ในบริบทล้านนา และสามารถ องค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายในที่มีรูปแบบเฉพาะ ของล้านนาทั้งอาคารบ้านพักอาศัยและอาคารสาธารณะ
เพื่อให้นักศึกษางค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายในที่มีรูปแบบเฉพาะ
ศึกษาหลักการและฝึกปฏิบัติงานออกแบบสถาปัตยกรรมภายในที่มีรูปแบบเฉพาะ ของล้านนา ปรัชญา ความคิดความเชื่อ ตลอดจนศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และสถาปัตยกรรมภายใน ภายนอก  ในบริบทล้านนา เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน ทั้งอาคารบ้านพักอาศัยและอาคารสาธารณะ
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ  -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมและจริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพิจารณา
 
บรรยาย เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีลักษณะงานโครงสร้างสถาปัตยกรรมภายใน ฝึกปฏิบัติตามหัวข้อที่กำหนดอย่างเคร่งครัด
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 1.3.2   มีการเขียนแบบตรงตามมาตรฐานงานสถาปัตยกรรมภายใน 1.3.3   มีการระบุวัสดุ อุปกรณ์ที่ได้มาตรฐาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 1.3.4   ประเมินผลการนำเสนอโครงการที่มอบหมาย
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาของสาขา วิชาชีพ  2.1.2   มีความรอบรู้ในสาขาวิชาชีพสถาปัตยกรรมภายในที่เกี่ยวเนื่องและศาสตร์แขนงอื่นๆที่เกี่ยวข้อง 2.1.3 มีความรู้ และความเข้าใจในศาสตร์ด้านเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2.1.4  มีองค์ความรู้ และความเข้าใจในทฤษฎี ศาสตร์ทางศิลปกรรม และสถาปัตยกรรมล้านนา       2.1.5 สามารถค้นคว้าหาข้อมูล และนำหลักการ ทฤษฏี และความรู้อื่นๆเข้ามาสร้างแนวทาง และ แก้ไขปัญหาในการปฏิบัติวิชาชีพอย่างเห
บรรยาย  ฝึกปฏิบัติ  และมอบหมายให้ทำโครงการเกี่ยวกับการเขียนแบบ ขยายแบบครุภัณฑ์ในงานสถาปัตยกรรมภายใน ฝึกการเขียนแบบ และขยายแบบด้วยเครื่องมือเขียนแบบ
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี รวมทั้งการแก้ปัญหาทางสถาปัตยกรรมภายใน 2.3.2   ปฏิบัติงานเขียนแบบเครื่องเรือนตามหัวข้อที่กำหนดได้อย่างถูกต้อง 2.3.3   ประเมินจากการนำเสนอโครงการงานออกแบบที่ได้รับมอบหมาย ปลายภาคเรียน
3.1.1 สามารถวิเคราะห์เชื่อมโยง และทำความเข้าใจอย่างเป็นเหตุเป็นผล โดยบูรณาการความรู้ในหลายๆด้าน และสังเคราะห์แนวคิด เพื่อออกแบบและหรือสร้างสรรค์ตามกระบวนการทำงาน 3.1.2 สามารถคิดอย่างสร้างสรรค์ประกอบด้วยจินตนาการ แก้ไขปัญหาในการออกแบบที่ซับซ้อนหรือเสนอแนวทางในการแก้ไข ที่ผสานประโยชน์ใช้สอย ความงาม (ที่ว่าง  และรูปทรง)เทคโนโลยี บริบททางสังคมและวัฒนธรรม เข้าด้วยกัน 3.1.3 มีทักษะ สามารถในการรวบรวมองค์ความรู้  สามารถสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ในการตัดสินใจในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ในการพัฒนาต่อยอดการเรียนรู้ในวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 3.1.4 มีกระบวนการทางความคิดและการทำงานอย่างเป็นระบบ
3.2.1   บรรยายในหัวข้อ ที่เกี่ยวกับความผิดพลาดทางเทคโนโลยีสถาปัตยกรรมภายใน 3.2.2   วิเคราะห์กรณีศึกษา  ในการเลือกใช้ข้อมูลทางเทคโนโลยีสถาปัตยกรรมภายในที่เหมาะสม
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวัดระดับความรู้ ความเข้าใจในการประยุกต์ใช้ข้อมูลทางโครงสร้างเครื่องเรือนและสถาปัตยกรรมภายใน 3.3.2   วัดผลจากการประเมินผลงานรายสัปดาห์ และโครงการเขียนแบบปลายภาคเรียน
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.1 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพมีภาวการณ์เป็นผู้นำ หรือผู้ตามที่ดี รู้จักการทำงานร่วมกับผู้อื่นสามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบสามารถลำดับความสำคัญและแก้ไขข้อขัดแย้งโดยใช้หลักธรรมาภิบาล 4.1.2 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพสามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสมมีความสามารถในการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและองค์กรได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ 4.1.3 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคมตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการปฏิบัติงาน 4.2.2   มอบหมายงาน รายกลุ่มและรายบุคคล 4.2.3   การนำเสนอโครงการ
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน 4.3.2  ประเมินจากงานรายบุคคล  ตามที่กำหนด 4.3.3   ประเมินจากโครงการที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.1 มีทักษะทางการสื่อสาร สามารถถ่ายทอดความรู้และนำเสนอผลงาน ทั้งการพูด การเขียน และการใช้สื่ออื่นๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจได้ 5.1.2 สามารถนำการวิเคราะห์เชิงตัวเลขมาแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติวิชาชีพอย่างเหมาะสม 5.1.3 สามารถใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติวิชาชีพอย่างเหมาะสม           การวัดมาตรฐานนี้อาจทำได้ในระหว่างการสอนโดยอาจให้นักศึกษาแก้ปัญหาวิเคราะห์ประสิทธิภาพของวิธีแก้ปัญหาและให้นำเสนอแนวคิดของการแก้ปัญหาผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพต่อนักศึกษาในชั้นเรียนอาจมีการวิจารณ์ในเชิงวิชาการระหว่างอาจารย์และกลุ่มนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 2
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3 4 4
1 BARIA508 สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นล้านนา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม การเข้าชั้นเรียน การร่วมกิจกรรมและส่งงานตามกำหนด - การมีวินัยในการร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค - วิธีการปฏิบัติงานตามขั้นตอน - วิธีการสรุปและนำเสนอรายงาน 8 8และ18 ตลอดภาคกลางศึกษา 30% 50%
3 การนำเสนอแบบตามแนวคิดอย่างมีระบบ - การปฏิบัติงานถูกต้องตามขั้นตอน 9,10,11, 12,13,14 10%
- INTERIOR DESIGN  ILLUSTRATED Francis D.K. Ching , Van nostrand reinhold : New york.