การเพาะเห็ด

Mushroom Culture

1. เข้าใจชีววิทยาและวิธีการทำหัวเชื้อเพาะเห็ดชนิดต่างๆ 2. วางแผนการเพาะเห็ดชนิดต่างๆ 3. เช้าใจวิธีการเก็บเกี่ยว การจำหน่าย และการใช้ประโยชน์จากเห็ด 4. รู้จักโรค ศัตรูเห็ด และความเป็นพิษของเห็ด 5. มีทักษะในการเพาะเห็ด 6. เห็นความสำคัญของการนำความรู้ทางด้านการเพาะเห็ดไปใช้ในการทำงานและประกอบอาชีพ
เพื่อเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพทางพืชศาสตร์ ให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการเพาะเห็ดได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถนำไปทำเป็นธุรกิจได้
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเห็ด ชีววิทยาและวงจรชีวิตเห็ด เทคนิคการเพาะเลี้ยงเส้นใยเห็ดและการทำหัวเชื้อเห็ด การเก็บรักษา การถนอมและการแปรรูปเห็ด ศัตรูเห็ดและการป้องกันกำจัด เห็ดพิษและความเป็นพิษ
1 ชั่วโมง
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรม ในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ - ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพ - อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ การมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา การเคารพ และให้เกียรติแก่อาจารย์อาวุโส เป็นต้น
- ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน และในโอกาสที่สาขา/คณะจัดกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม การมีสัมมาคารวะต่อผู้อาวุโส และอาจารย์  - การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน และการส่งรายงาน - ประเมินการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น โดยนักศีกษาอื่นๆ ในรายวิชา - นักศึกษาประเมินตนเอง
2.2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยาย ร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การสอนแบบ e-Learning เป็นต้น
- การสอบกลางภาค และสอบปลายภาค - ทำรายงานรายบุคคล
3.3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียน และการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา จากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหาหรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความ  น่าเชื่อถือและความเป็นไปได้    - มอบหมายงานกลุ่ม
- ประเมินจากการตอบปัญหาและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทั้งรายบุคคลและกลุ่ม - รายงานกลุ่ม - การสอบข้อเขียนกลางภาค และปลายภาค
4.4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาอื่นและบุคคลภายนอก - มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด - กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน
- ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน - ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา - ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และด้านความรับผิดชอบ - ให้นักศึกษาประเมินนักศึกษาอื่นๆ ในรายวิชา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
5.5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
-ใช้  Power point   -มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต -การสอนแบบออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Microsoft Teams / Zooms -การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล -การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ -การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจาโดยการออกเสียงและการใช้ภาษาให้ถูกต้อง
- ประเมินทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงาน - ประเมินทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน - ประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2
1 BSCAG156 การเพาะเห็ด
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 1.3, 2.2, 3.1, 4.3, 5.1 สอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9, 17 60%
2 1.2, 2.1, 5.3 - ประเมินผลงานการทำงานกลุ่ม การนำเสนอหน้าชั้นเรียน - การส่งงานตามที่มอบหมายรายบุคคล - ประเมินผลงานการทำงานจากรายงาน พร้อมการนำเสนอหน้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 คุณธรรมจริยธรรม - การเข้าชั้นเรียน การลงชื่อ ตรงเวลา (ลงทะเบียนเข้าเรียน กรณีเรียนออนไลน์) - สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
กลุ่มส่งเสริมพืชผักและเห็ด. 2558. เอกสารคำแนะนำที่ 6/2558 การเพาะเห็ดเบื้องต้น. กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 65 หน้า. บารมี สกลรักษ์, กิตติมา ด้วงแค, จันจิรา อายะวงศ์, กฤษณา พงษ์พานิช และ วินันท์ดา หิมะมาน. 2559. เห็ดครีบ: กลุ่มป่าแก่งกระจาย เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเชียงดาวและเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว. สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. กรุงเทพฯ. 240 หน้า. บารมี สกลรักษ์, กิตติมา ด้วงแค, จันจิรา อายะวงศ์, กฤษณา พงษ์พานิช และ วินันท์ดา หิมะมาน. 2560. เห็ดหิ้ง: กลุ่มป่าแก่งกระจาย เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเชียงดาวและเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว. สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. กรุงเทพฯ. 132 หน้า. สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช. 2560. คู่มือการศึกษาความหลากหลายเห็ด (Mushrooms). กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. กรุงเทพฯ. 151 หน้า.
เวปไซต์เกี่ยวกับเห็ด
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
ประเมินจากผลการสอบและการทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงกิจกรรมในการสอนให้มากขึ้น เช่น ทักษะในการเพาะเห็ดบางชนิดที่ต้องอาศัยปัจจัยประกอบอื่นๆ เป็นต้น
สาขามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา  โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4