เขียนแบบขั้นพื้นฐาน

Basic of Drafting

1.1. มีความรู้ในการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ในการเขียนแบบ 1.2. มีความเข้าใจในการใช้สัญญาลักษณ์และอักษรในการเขียนแบบ 1.3. มีทักษะในการเขียนรูปทรงเรขาคณิต 1.4. มีทักษะในการใช้เส้น การเขียนภาพฉาย ภาพไอโซเมตริก ภาพออบลิค 1.5. มีทักษะในการเขียนทัศนียภาพภายในและภายนอก 1.6. ตระหนักในความสำคัญของการเขียนแบบสถาปัตยกรรม
นำข้อมูลการประเมินผลการสอน โดยผู้เรียน มาพัฒนาปรับปรุงเนื้อหาและการการเรียนการสอนและ เพื่อปรับความรู้และทักษะพื้นฐานของนักศึกษาที่มาจากสองฐานการศึกษาคือ จาก ปวช. และ ม.6 ให้มีความรู้ และฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องมือเขียนแบบ การเขียนเส้น ตัวอักษร สัญลักษณ์ รูปทรงเรขาคณิต ภาพฉายภาพไอ โซเมตริก ภาพออบบลิค การเขียนภาพทัศนียภาพ ให้มีทักษะการปฏิบัติที่ใกล้เคียงกัน
 

 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องมือเขียนแบบ การเขียนเส้น ตัวอักษร สัญลักษณ์ รูปทรง เรขาคณิต ภาพฉายภาพไอโซเมตริก ภาพออบบลิค การเขียนภาพทัศนียภาพ  
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)  
1) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 2) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
 
1) สอดแทรกระหว่างการเรียนการสอนทุกครั้ง 2) ตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน แสดงความคิดเห็นเรื่องการส านึกต่อหน้าที่ มีวินัย ตรงต่อ เวลา การมีระเบียบแต่งกาย และการเคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น 3) มอบหมายงานให้รับผิดชอบและส่งตรงตามเวลา  
1) ประเมินจากการตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามก าหนด ระยะเวลาที่มอบหมาย ตลอดจนการร่วมกิจกรรมของมหาวิทยาลัย ของคณะ และ กิจกรรมนักศึกษา 2) ประเมินจากการมีวินัยและความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริม หลักสูตร 3) ปริมาณการกระท าทุจริตในการสอบ 4) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายและส่งตรงตามเวลา การแต่ง การเรียบร้อยเหมาะสมกับนักศึกษา  
1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา  
1) การจัดการเรียนการสอนหลายรูปแบบ โดยใช้หลักการทางทฤษฏีและฝึกปฏิบัติให้เกิด ความช านาญในการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและเครื่องมือต่างๆ 2) ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นสื่อการสอนและประกอบการบรรยายสื่อผสมโดย อาจารย์ประจำวิชา  
1) ประเมินจากการสอบกลางภาคและปลายภาค 2) ประเมินการปฏิบัติงานจากผลงานที่ทำทุกสัปดาห  
1) มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ  
1) ใช้การสอนแบบออนไลน์มาช่วยในการสอน เพื่อลดการแพร่ระบาดการติดเชื้อโรค Covid 19 อีกทั้งสามารถเรียนได้เมื่อนักศึกษาพร้อม กล่าวคือสามารถย้อนกลับมาดูการสอนได้ตลอดเวลา เพราะทุกครั้งที่บรรยาย มีการบันทึก VDO ไว้เสมอ
2)การบรรยายประกอบสื่อผสม 3) การมอบหมายงานให้ทดลองปฏิบัติในห้องเรียนเพื่อช่วยให้เกิดการพัฒนาทักษะการ ปฏิบัติการร่วมกันระหว่างนักศึกษากับนักศึกษา และอาจารย์กับนักศึกษา 4) การนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นสื่อการสอนและประกอบการบรรยายเพื่อให้เกิด ความเข้าในการปฏิบัติได้ดียิ่งขึ้น  
1) ประเมินจากการสอบกลางภาคและปลายภาค 2) ประเมินการปฏิบัติงานจากผลงานที่ทำทุกสัปดาห  
1) การมีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี  
1) มอบหมายงานให้มีความรับผิดชอบร่วมกันในระดับกลุ่มย่อย หรือทั้งห้อง 2) การอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์เพื่อถ่ายทอดความรู้ซึ่งกันและกัน  
1) ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการท างานตามบทบาทของแต่ละคนภายในห้องเรียน 2) ประเมินพฤติกรรมนิสัยวิธีการทำงานของแต่ละคนจากนักศึกษาด้วยกันเอง
3) ประเมินจากความรับผิดชอบต่อการทำงาน และการมีน้ำใจต่อเพื่อนในห้อง

 
1) สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม  
1) บรรยาย ให้คำแนะนำ และอภิปราย 2) อธิบายขั้นตอนการปฏิบัติงานต่างๆโดยใช้ภาษาและรูปแบบเทคโนโลยีสาระสนเทศที่ เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ  
ประเมินจากความสามารถในการอธิบายขั้นตอนการปฏิบัติงานต่างๆ จากการใช้ภาษาและ เทคโนโลยีสาระสนเทศที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ  
1) มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ  
1) ฝึกปฏิบัติด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน 2) อภิปรายขั้นตอนการปฏิบัติได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง  
1) ประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงานจริง
2) ประเมินจากพัฒนาการของงาน
3) ประเมินจากการตั้งใจทำงาน  
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 2 1 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BARCC405 เขียนแบบขั้นพื้นฐาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม 1) ประเมินจากการตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย ตลอดจนการร่วมกิจกรรมของมหาวิทยาลัย ของคณะ และกิจกรรมนักศึกษา 2) ประเมินจากการมีวินัยและความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร 3) ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ 4) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายและส่งตรงตามเวลา การแต่งการเรียบร้อยเหมาะสมกับนักศึกษา ทุกสัปดาห์ตลอดภาคการศึกษา 24%
2 ความรู้ 1) ประเมินจากการสอบกลางภาคและปลายภาค 2) ประเมินการปฏิบัติงานจากผลงานที่ทำทุกสัปดาห์ สัปดาห์สอบกลางภาค ปลายภาคและทุกสัปดาห์ตลอดภาคการศึกษา 15 %
3 ทักษะทางปัญญา 1) ประเมินจากการสอบกลางภาคและปลายภาค 2) ประเมินการปฏิบัติงานจากผลงานที่ทำทุกสัปดาห์ ทุกสัปดาห์ตลอดภาคการศึกษา 30 %
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1) ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงานตามบทบาทของแต่ละคนภายในห้องเรียน 2) ประเมินพฤติกรรมนิสัยวิธีการทำงานของแต่ละคนจากนักศึกษาด้วยกันเอง 3) ประเมินความรับผิดชอบต่อการทำงานและการมีน้ำใจต่อเพื่อนในห้อง ทุกสัปดาห์ตลอดภาคการศึกษา 8 %
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสาระสนเทศ 1 ประเมินจากความสามารถในการอธิบายขั้นตอนการปฏิบัติงานต่างๆ จากการใช้ภาษาและเทคโนโลยีสาระสนเทศที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ทุกสัปดาห์ตลอดภาคการศึกษา 8 %
6 ทักษะพิสัย 1 ประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงานจริง 2 ประเมินการตั้งใจทำงาน ทุกสัปดาห์ตลอดภาคการศึกษา 15 %
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยปฐมพร ธนพัฒน์ปวงวัน. วิชาเขียนแบบพื้นฐาน Basic Drafting. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, 2559 สุรศักดิ์ พูลชัยนาวาสกุลง, พงษ์ธร จรัญญากรณ์. เขียนแบบเทคนิค พื้นฐานช่างอุตสาหกรรมทุกสาขา. กรุงเทพฯ : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด(มหาชน), 2521 ธัญญลักษณ์  ก้องสมุท. เขียนแบบเทคนิค 1. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ, 2535 ศาสตราจารย์เฉลิม   รัตนทัศนีย. การเขียนแบบสถาปัตยกรรม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538 สุขสม  เสนานาญ. เขียนแบบก่อสร้าง. กรุงเทพฯ : บริษัท ประชาชนจำกัด, 2540 ชวลิต  ดาบแก้ว และสุภาวดี  เหมทานนท์. PERSPECTIVE DRAWING การเขียนทัศนียภาพ. กรุงเทพฯ : หจก.โรงพิมพ์ ดี แอล เอส กรุงเทพ, 2541 ธีระชัย  เจ้าสกุล. เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ ส.ส.ท. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2546 ฝ่ายวิชาการ บริษัท สกายบุ๊กส์ จำกัด. เรียนรู้เขียนแบบเบื้องต้นด้วยตนเอง. ปทุมธานี : บริษัท สกายบุ๊กส์ จำกัด, 2533 รองศาสตราจารย์สถาพร  ดีบุญมี ณ ชุมแพ. จุด เส้น ระยะ Toward Fundamental Drafting. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2556 วัชรพงศ์  หงส์สุวรรณ. การเขียนทัศนียภาพ พื้นฐานการเขียนแบบ. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2556
ไม่มี
สื่อออนไลน์ MS Team ที่อาจารย์สอนได้ up load (สามารถศึกษาล่วงหน้าและดูย้อนหลังได้)
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia , Google
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
จัดประชุมทีมอาจารย์ประจำวิชาร่วมกับอาจารย์ประจำหลักสูตร ระดมความคิดเห็นเมื่อสิ้นสุดภาคเรียนในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์ของผู้สอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
ใช้การสอนแบบออนไลน์ช่วยให้นักศึกษาเรียนรู้ได้ตลอดเวลาหรือเมื่อพร้อม และหลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
- มีคณะกรรมการวิชาการประจำสาขาวิชา
- มีคณะกรรมการพิจารณาข้อสอบและผลสอบ
- แจ้งผลการประเมินผลการสอบ การรายงาน การนำเสนอและคะแนนให้นักศึกษาทราบ
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   นำผลที่ได้จากการสอบถามความคิดเห็น คะแนนสอบของนักศึกษา การประชุมสัมมนา และ มคอ.5 มาสรุปผลและพัฒนารายวิชาก่อนการสอนในภาคเรียนต่อไป
5.2  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.3    เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ