การดูแลรักษางานภูมิทัศน์

Landscape Maintenance

       1.  เพื่อเข้าใจความสำคัญของการดูแลรักษาภูมิทัศน์
          2.  เพื่อพิจารณาเลือกเครื่องมือ  วัสดุอุปกรณ์  ในการปฏิบัติบำรุงรักษา
          3.  เพื่อมีทักษะในการใช้เครื่องมือ  วัสดุอุปกรณ์  ในการดูแลรักษาภูมิทัศน์
          4.  เพื่อรู้วิธีการและมีทักษะในการดูแลรักษาภูมิทัศน์
          5.  เพื่อเห็นความสำคัญของการดูแลรักษาภูมิทัศน์
เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จัก จำได้ มีความเข้าใจ
เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จัก  จำได้  มีความเข้าใจ  หลักการดูแลรักษาภูมิทัศน์  สามารถนำหลักการมาใช้ในรายวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง  เพิ่มเติมกฎระเบียบข้องบังคับการดูแลรักษาภูมิทัศน์และการเรียนในระบบอินเตอร์เน็ต
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการดูแลรักษาในงานภูมิทัศน์ ประเภทของอุปกรณ์และ เครื่องมือดูแลรักษา การดูแลรักษาอุปกรณ์และเครื่องมือ การจัดการและการวาง แผนการดูแลรักษาภูมิทัศน์ดาดนุ่มและดาดแข็ง
          Study and practice of landscape maintenance. Type of equipment and tools to maintain landscape. Maintenance equipment and tools. Management and maintenance planning for landscape both the cased soft and cased solid.
  1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
š1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
  1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.ทำการสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  โดย
     - สอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหา โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม การรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
     -กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
2.การสอนแบบ  Problem Based Learning  
     - ให้งานมอบหมายและกำหนดเวลาส่งงานมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
ใช้วิธีการสังเกต จาก
    - การเข้าเรียนตรงเวลา
    - การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด
   - ไม่ทุจริตในการสอบ
   -ความมีวินัยต่อการเรียน ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
˜ 1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š  2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
˜ 3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
     - มอบหมายนักศึกษาไปค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมและจัดทำเป็นรายงานตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2. การสอนแบบบรรยาย
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning
สื่อที่ใช้
-  ยกตัวอย่างงานจริง
-  ใช้สื่อการสอนที่เป็นของใช้งานจริง
 -  อภิปรายกลุ่มกรณีศึกษาที่เป็นงานทางภูมิทัศน์ที่นักศึกษาสัมผัสได้
1. การนำเสนองาน
       - ประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
2. ข้อสอบอัตนัย
        - ทดสอบโดยข้อเขียนในการสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
3. สังเกตการณ์มีส่วนร่วมในชั้นเรียนและการฝึกตีความ
4.คุณภาพงานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
5. การเขียนบันทึกผลการปฏิบัติ
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
-  ยกตัวอย่างงานจริง
-  ใช้สื่อการสอนที่เป็นของใช้งานจริง
 -  อภิปรายกลุ่มกรณีศึกษาที่เป็นงานทางภูมิทัศน์ที่นักศึกษาสัมผัสได้
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
       - ประเมินผลจากผลสัมฤทธิ์ของโครงงานพิเศษ
2. สังเกตการณ์มีส่วนร่วมในชั้นเรียนและการฝึกวิเคราะห์ปัญหาและฝึกตีความ
3.คุณภาพงานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
4. การประเมินตนเอง
˜ 4.1  มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š 4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างดี
š 4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์
-  จัดกลุ่ม กำหนดประธานกลุ่มสลับกันไปในแต่ละงาน
 -  มอบหมายงานให้กลุ่มและงานย่อยในกลุ่มให้ประธานกลุ่มไปดำเนินการกับสมาชิกกลุ่ม
 - กลุ่มนำเสนองานภายในห้องเรียน
1.การสังเกตพฤติกรรม
2.การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
    5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
š5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
   5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-  มอบหมายแบบฝึกหัดและกำหนดให้ทำด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบการจำแนกวัสดุพืชพรรณ
-  มอบหมายงานให้ค้นคว้าจากอินเทอเน็ต ส่งงานเป็นงานเอกสารโดยใช้ อินเทอเน็ต
 -  การนำเสนอหน้าชั้นเรียนโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
-  การคิด คำนวณ การเขียนตัวเลขอย่างถูกหลักการในแบบฝึกหัด
-  จากการใช้เทคโนโลยีในการทำรายงาน
-  จากการใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
-
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ - การประเมินพฤติกรรมด้านความรับผิดชอบ - การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 1-15 1-15 3% 2%
2 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค สอบปลายภาค 1 -14 8 18 15 % 20% 20%
3 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4-13 30%
4 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างดี 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์ รายงานกลุ่มนำเสนอผลงานการดูแลรักษาภูมิทัศน์ การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม 15 15 3% 2%
5 5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ - 18 5%
สมจิต  โยธะคง.  2545.  การจัดการดูแลบำรุงดูแลรักษาภูมิทัศน์.  พิมพ์ครั้งที่  1.  กรุงเทพมหานคร.วงตะวันการพิมพ์.
1.  กองบรรณาธิการบ้านและสวน.  2525  สารานุกรมไม้ประดับในประเทศไทย  เล่ม 1-3 .  กรุงเทพฯ. : อัมรินทร์การพิมพ์.
2.  จักรผัน   อักกพันธานนท์.  2529  หลักการออกแบบตกแต่งบริเวณ.  พิมพ์ครั้งที่ 1.  กรุงเทพฯ. : ไทยวัฒนาพานิช.
3.  เดชา   บุญค้ำ. ม.ป.ป.  2525  การปฏิบัติวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรม.  คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
 4.  พรรณเพ็ญ   ฉายปรีชา.  2537  การจัดสวน.  กรุงเทพฯ. : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
 5.  สิน   พันธุ์พินิจ.  2535  การจัดการสนามหญ้า. กรุงเทพฯ. : อักษรพิทยา.
6.  สุนทร   ปุณโณทก.  2522  ไม้ดอกไม้ประดับและการตกแต่งสถานที่.  กรุงเทพฯ. : สำนักพิมพ์ภาษิต.
7.  อภัย  ผะเดิมชิต. 2525  การออกแบบวางผังบริเวณและสวนสาธารณะ.  เอกสารโรเนียวการอบรมการวางผังและตกแต่งสวน  วิทยาเขตอุเทนถวาย  กรุงเทพฯ. : กระทรวงศึกษาธิการ
8.  เอื้อมพร   วีสมหมาย.  2527  สวนสาธารณะและสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ.  กรุงเทพฯ. : โรงพิมพ์อักษรวิทยา.
 9.  เอื้อมพร   วีสมหมาย.  2530  หลักการจัดสวนในบ้าน.  กรุงเทพฯ. : บริษัท โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์จำกัด.    
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชาได้แก่  วิธีการสอนการจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน  สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้  และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุง
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน   หรือจากการสังเกตการณ์สอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวน  และปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอน  จากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา  แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน  นอกจากนี้ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอน  เข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน  หรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน   ควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชา  เพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษา  และร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบ   และความเหมาะสมของการให้คะแนน  โดยการสุ่มรายวิชาภายในรอบเวลาของหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา  โดยพิจารณาจากผลประเมินการสอนโดยนักศึกษา,  ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของสาขาวิชา, การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน     หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา  อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอน  และกลยุทธ์การสอนที่ใช้  และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา   เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็น  และสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอ   สาขาวิชา/คณะเพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป