การเตรียมวิทยานิพนธ์

Thesis Preparation

.1 เพื่อศึกษาทบทวนทฤษฎี และวิธีการหาข้อมูล การใช้เครื่องมือและวิธีการรวบรวมข้อมูล 1.2 เพื่อฝึกการเขียนอ้างอิง การเขียนรายงานนักศึกษาจะต้องปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ 1.3 เพื่อจัดทำโครงร่างวิทยานิพนธ์โดยนักศึกษาจะต้องเสนอโครงการต่อคณะกรรมการดำเนินงานวิทยานิพนธ์ที่ภาควิชาแต่งตั้งขึ้น 1.4 เพื่อจัดทำร่างเอกสารเพื่อใช้เป็นภาคนิพนธ์ในงานวิทยานิพนธ์
เพื่อให้ดำเนินการเรียนการสอนเป็นไปตามวัตถุประสงค์มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น
ศึกษาและฝึกปฏิบัติวิธีการจัดท าโครงร่างวิทยานิพนธ์ ทบทวนวรรณกรรม แนวคิด และทฤษฎี วิธีการจัดหาและวิเคราะห์ข้อมูล ศึกษาวิธีการเขียนและ จัดท าภาคนิพนธ์ ด้านสถาปัตยกรรมภายใน
อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาหน้าชั้นเรียน จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลต่อนักศึกษาสัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง /สัปดาห์ โดยระบุเวลา ไว้ในตารางสอน และแจ้งนักศึกษาในชั่วโมงแรกของสัปดาห์
(2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรม ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา สอนให้มี ระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ใน ทุกวิชา ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
(1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหา ที่ศึกษา
(2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ ศึกษา
(3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและการ ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของ รายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดย การศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการ ฝึกประสบการณ์หรือ ฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาในด้านต่างๆ คือ
(1) การทดสอบย่อย
(2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
(3) ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
(4) ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน 64
(5) ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
(6) ประเมินจากแผนการดำเนินงานโครงงาน
(7) ประเมินจากการฝึกงานหรือสหกิจศึกษา
(1) มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือ วิชาชีพ
(2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ใช้กรณีศึกษา การจัดทำโครงงาน การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษา และการ นำเสนองาน
(3) สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม การเคารพสิทธิและการยอมรับ ความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็นและการวิพากษ์วิจารณ์ งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงาน กลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
(2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไข ปัญหาอย่างเหมาะสม
(3) สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยี สารสนเทศให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล การนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ
(1) มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
(2) มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษา โครงงานและศิลปนิพนธ์ สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 1 2 3 1 2 3 2 3 1 2
1 BARIA107 การเตรียมวิทยานิพนธ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ใน ทุกวิชา ประเมินจากผลการด าเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม -ตลอดภาคการศึกษา 10
2 ด้านความรู้ ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา ใน ด้านต่างๆ คือ (1) การทดสอบย่อย (2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน (3) ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ (4) ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน 64 (5) ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ (6) ประเมินจากแผนการดำเนินงานโครงงาน (7) ประเมินจากการฝึกงานหรือสหกิจศึกษา -สอบกลางภาคและสอบปลายภาค ในสัปดาห์ที่ 6,11,16,17 30
3 ด้านทักษะทางปัญญา ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษา และการ นำเสนองาน -สอบกลางภาคและสอบปลายภาค ในสัปดาห์ที่ 6,11,16,17 30
4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงาน กลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ ตลอดภาคการศึกษา 10
5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ -ผลงานนำเสนอในสัปดาห์ที่ 6,11,16,17 10
6 ด้านทักษะพิสัย ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 10
1. การทำรายละเอียดประกอบโครงการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2. Problem Seeking
วิทยานิพนธ์ด้านสถาปัตยกรรมภายในของนักศึกษารุ่นที่ผ่านมา Thesis & Dissertation Writing by Rivera, Maximiano.M.Jr.. Writing a Thesis Proposal First Edition by C. Arboleda Research Methods and Thesis Writing' 2007 Ed. By Calmorin, Et Al
ค้นคว้าข้อมูลจาก Google เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น คำอธิบายศัพท์ ระเบียบวิธีวิจัย
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 อาจารย์ผู้สอนจัดทำเอกสารค้นคว้าคู่มือ หนังสือตำรา หรือวิจัย เพื่อให้มีประสิทธิภาพของวิชาสูงขึ้น 5.3 รวมรวมผลงานนักศึกษาย้อนหลัง 5 ปี เพื่อประเมินผลงานของนักศึกษานำมาปรับปรุงการเรียนการสอน