สัมมนาสัตวศาสตร์

Seminar in Animal Science

1. เพื่อให้นักศึกษาคุ้นเคยกับการจัดสัมมนาทางวิชาการ
  2. เพื่อให้นักศึกษารู้จักการอภิปรายปัญหา
   3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำเสนอรายงานการศึกษาค้นคว้า ต่อที่ประชุมได้
   4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเขียนรายงาน และบทคัดย่อทางวิชาการได้
5. เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้โสตทัศนอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม
เพื่อเป็นตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2558 และพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อให้ทนสมัยสอดคล้องกับเหตุการณ์ สภาพการผลิตสัตว์ ณ ปัจจุบัน
ปฏิบัติเกี่ยวกับการสืบค้นและรวบรวมข้อมูลทางวิชาการ การเรียบเรียงเอกสารทางวิชาการ
การจัดเตรียมและนำเสนอสัมมนาในที่ประชุมและการอภิปรายซักถาม
-จัดเวลาให้นักศึกษาเข้าพบเพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการสัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง โดยใช้วิธีนักศึกษานัดหมายอาจารย์ล่วงหน้า
-นักศึกษาสามารถติดต่อได้ทาง e-mail address : nokgapood@gmail.com
- ตั้งกลุ่ม Facebook วิชาสัมมนาสัตวศาสตร์ 61/2 ให้นักศึกษาติดต่อได้ทาง Facebook และ messenger รวมทั้ง line ได้ตลอดเวลา
1.1  มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
2. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
3. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2 .โครงการกลุ่ม
3.การสังเกต
4.การนำเสนองาน
5.การประเมินโดยเพื่อน
2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่าง
ถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
2.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
1. กระบวนการสืบค้น
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา
3. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล
4. การสอนแบบกรณีศึกษา
5. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม 
6. การสอนแบบสัมมนา  
7. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ   
8. การสอนแบบปฏิบัติ 
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การนำเสนองาน
3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์
จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
1. กระบวนการสืบค้น
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา
4. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล
5. การสอนแบบกรณีศึกษา
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม 
7. การสอนแบบปฏิบัติ 
8. การสอนแบบ  Brain  Storming Group  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การนำเสนองาน
4.1 ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
1. การเรียนแบบแก้ปัญหา
2. การสอนแบบกรณีศึกษา
3. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม 
4. การสอนแบบปฏิบัติ 
5. การสอนแบบ  Brain  Storming Group  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
4.การสังเกต
5.การนำเสนองาน ในรูปแบบเอกสาร และทางวาจา
6.การประเมินตนเอง
7.การประเมินโดยเพื่อน
5.1 มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง 
พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน
5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.ใช้  Power point  
2.มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
3.การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
4.การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5. การนำเสนองานด้วยวาจา
1.การนำเสนองาน ในรูปแบบเอกสาร และทางวาจา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่าง ถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 2.2มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม 3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ 4.1 ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม 4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม 5.1 มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 BSCAG218 สัมมนาสัตวศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2 การใช้บันทึกการเข้าชั้นเรียน 1-17 5%
2 1.2, 2.2, 3.1, 3.3, 4.1, 5.1,5.2 การประเมินผลงาน (เอกสารรายงาน และการนำเสนอผลงาน รวมทั้งการถาม-ตอบ และการกล้าแสดงออก) 17 60%
3 2.2, 3.1,3.3, 4.1, 5.1,5.3 การประเมินผลงาน (เอกสารรายงาน และการนำเสนอผลงาน รวมทั้งการถาม-ตอบ และการกล้าแสดงออก) 1-17 15%
4 1.2, 1.2, 4.1, 4.2 ประเมินการมีวินัย และพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วม / การส่งงาน 1-17 20 %
คณะทำงานพัฒนาการเรียนการสอน และกองการเจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  2527.  เทคนิคการเขียนตำรา และบทความ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.  409 น. 
จำเริญ เที่ยงธรรม และ ชัยภูมิ บัญชาศักดิ์. 2541. คู่มือการเขียนสัมมนาสัตวศาสตร์. ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพ.
จอมสุดา ดวงวงษา. มปป. คู่มือวิชาสัมมนาระดับปริญญาตรี. คณะเทคโนโลยีการประมง และทรัพยากรทางน้ำ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่.
ดาเรศ บันเทิงจิตร.  มปป. การเขียนบทความทางวิชาการ.  แหล่งที่มา: http://pirun.ku.ac.th/~g4986080/article3.pdf , 12 สิงหาคม 2555.
ไพศาล เหล่าสุวรรณ.  2545.  วิธีการเขียนทางวิทยาศาสตร์.  สมบูรณ์การพิมพ์, นครราชสีมา.  111 น.
ราชบัณฑิตยสถาน.  2542. หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นโรมันแบบถ่ายเสียง. กรุงเทพ. 14 น.
Anonymous.  2000. Punctuation. Yindii Dot Com Co., Ltd. [Available online]. http://www.yindii.com, (23 Oct 2002).
รายงานวิจัยของกรมปศุสัตว์ http://www.did.go.th
เอกสารประกอบการประชุมสัมมนา http://www.ku.ac.th  (KUcon.)
เทคนิคการจัดรูปแบบรายงานสัมมนาด้วย  Microsoft word:  http://www.natres.psu.ac.th /Department /Animal Science/seminar/515-497chaiwan.pdf
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อเรื่องที่นักศึกษาสนใจในการนำเสนอสัมมนา
-แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาที่จัดทำโดยมหาวิทยาลัย
-การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
-พิจารณาจากเอกสารเรื่องเต็มสัมมนา
-พิจารณาจากการนำเสนอสัมมนา
-จัดกิจกรรมฝึกนำเสนอรายงานทางวิชาการจากเอกสารที่นักศึกษาค้นคว้ามา
-จัดกิจกรรมฝึกพูดศัพท์ภาษาอังกฤษให้ถูกต้อง
-ทวนจากการนำเสนอรายงานต่างๆ
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  เช่นในภาคเรียนนี้มีการบังคับให้นักศึกษาต้องถามคำถามเพื่อนที่นำเสนออย่างน้อยวันละ 1 คำถามต่อคน มิเช่นนั้นจะไม่ได้คะแนนในส่วนของการให้ความร่วมมือกับส่วนรวม ส่วนคำถาม และช่วยตอบที่เพิ่มขึ้นจะมีคะแนนพิเศษบวกให้ ซึ่งใช้มาแล้ว 1 ภาคเรียน(กรณีหลักสูตรใหม่) ปรากฏว่าได้ผลดี ทำให้นักศึกษากล้าแสดงออกมากขึ้น และปรับแผนการประเมินผลการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับการประเมินกิจกรรมของนักศึกษาที่ปฏิบัติจริงให้มากขึ้น นอกจากนี้จะจัดให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการประเมินการนำเสนอสัมมนาของเพื่อนนักศึกษาด้วยกันแล้วนำคะแนนมาเฉลี่ยกับอาจารย์ผู้เข้าประเมินทุกท่าน