ศิลปวัฒนธรรมอาเซียน

ASEAN Arts and Culture

รู้และเข้าใจหลักการเกี่ยวกับแนวคิดศิลปวัฒนธรรมของอาเซียน โดยสามารถทำการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินผลทางการศึกษาจากเนื้อหาที่กำหนดได้จากบริบทแวดล้อมทางสังคม
วัฒนธรรม ประเพณีต่างๆของอาเซียน
เพื่อให้ผู้เรียนได้ทำการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน เข้าใจสภาพแวดล้อม
ความเป็นไปในบริบทต่างๆของศิลปวัฒนธรรมอาเซียน 
ควบคู่ไปกับการพัฒนาแนวคิดการออกแบบสร้างสรรค์ให้สอดคล้องกับ
การเตรียมพร้อมในการศึกษาแนวคิดการทำงานของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมของกลุ่มประเทศอาเซียน มุ่งนำความรู้จากการศึกษามา
อภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้หรือสนับสนุนในด้านการสร้างสรรค์ผลงาน
The Practical aboout arts and culture in ASEAN in order to bring 
knowledge from the study, discuss, and exchange knoledge or support 
 in the creative work.
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
                พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้                 1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
                1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง
                1.1.3 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
                1.1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
                1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
กำหนดให้มีการปลูกฝังให้้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา รู้จักระเบียบวินัย
มารยาทในชั้นเรียน สอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม
ยกย่องและเชิดชูผู้ที่ทำความดีและเสียสละ
รู้จักจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในวิชาสอน
ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
การตรงเวลาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
 
               2.1.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ มีความรู้ และความเข้าใจหลักการเกี่ยวกับแนวคิดศิลปวัฒนธรรมของอาเซียน โดยสามารถทำการแลกเปลี่ยน เรียนรู้
2.1.2 มีความสามารถในการวิเคราะห์และสังเคราะห์หลักการและทฤษฎีสำคัญใน เนื้อหาด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.1.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา ประเมินผลทางการศึกษาจากเนื้อหาที่กำหนดได้จากบริบทแวดล้อมทางสังคม วัฒนธรรม ประเพณีต่างๆของอาเซียน 
2.1.4 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และให้ คำปรึกษาด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ผลงานแก่ผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
           2.2.1 มีความรู้ความเข้าใจจุดมุ่งหมายและแลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับในศิลปวัฒนธรรมอาเซียน เข้าใจถึงวิธีการสร้างสรรค์
2.2.2 นำเสนอหรือแสดงความคิดเห็นความรู้ที่สนับสนุนต่อการสร้างสรรค์ผลงาน
2.2.3 ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยมุ่งเน้นทั้งหลักการทางทฤษฎี ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี          2.2.4  อภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้ประกอบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆ
 
  2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
              2.3.2 ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานในด้านต่าง ๆ คือ การทดสอบย่อย เช่นการถกปัญหาแลกเปลี่ยนความรู้ภายในชั่วโมงของชั้นเรียน เป็นการประเมินจากความรู้ความเข้าใจ จากการแสดงความคิดเห็น หรืองานศึกษาค้นคว้าจากการรายงานเป็นรูปเล่ม
เล่ม
              3.1.1 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการเขียนแบบ
    3.1.2 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ               3.1.3 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
             3.2.1 อภิปราบ และการให้นักศึกษาฝึกการประเมินค่าความสำคัญ โดยมุ่งเน้นทั้งหลักการทางทฤษฎี องค์ความรู้
   3.2.2 การสะท้อนแนวคิดจากการอภิปราย คิดและใช้อย่างเป็นระบบ
              3.3.1 สอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิด               3.3.2 วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
              3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
 
               4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
                 4.1.2 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
       4.1.3 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี        4.1.4 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ        4.1.5 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม        4.1.6 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
หมาะสม
             4.2.1 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล ให้สืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูลเพื่อจัดทำรายงาน เน้นการฝึกให้ตั้งข้อสังเกต ฝึกการตั้งคำถาม ฝึกการคิดจากข้อมูลการศึกษาในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน โดยจัดกิจกรรมการสอนที่ให้มีส่วนร่วมได้ใช้ความคิดเห็นร่วมกัน
  4.2.2 สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่นที่ทำให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุดทั้งต่อตนเองและสังคม
   4.2.3 การนำเสนอรายงาน
             4.3.1 ประเมินจากผลงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
             4.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย
   4.3.3 สังเกตพัฒนาการมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ ความสนใจความตั้งใจในการแสวงหาความรู้ สังเกตวิธีคิดในการตั้งคำถาม หาคำตอบและแนวทางแก้ไขปัญหา พิจารณาพัฒนาการการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู้ที่สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
             5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
             5.1.2 พัฒนาทักษะในการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือ สื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
             5.1.3 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
             5.1.4 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
             5.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ ค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล
  5.2.2 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
            5.2.3 นำเสนอโดยสื่อสารรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
            5.3.1 ประเมินความถูกต้องจากรายงาน การใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
            5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
  5.3.3 ประเมินจากการอภิปรายรายบุคคล
            5.3.1 ประเมินความถูกต้องจากรายงาน การใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
            5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
  5.3.3 ประเมินจากการอภิปรายรายบุคคล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.1.2มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.1.3มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.1.4เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1.1มีความสามารถในการวิเคราะห์และสังเคราะห์หลักการและทฤษฎีสำคัญใน เนื้อหาด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.1.2สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา 2.1.3สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และให้ คำปรึกษาด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ผลงานแก่ผู้อื่นได้เป็นอย่างดี 3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 MAAAC225 ศิลปวัฒนธรรมอาเซียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรมจริยธรรม - การเข้าชั้นเรียน ขาด ลา มาสาย - การถาม-ตอบในชั้นเรียน การมีวินัย 1-17 6%
2 ความรู้ ผลการศึกษา ค้นคว้า รวบรวมข้อมูล รู้รายละเอีบดความรู้ อย่างถูกต้องและน่าเชื่อถือ 1-17 40%
3 ทักษะทางปัญญา ผลการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลที่เป็นไปตามระเบียบวิธี ขั้นตอนการศึกษาอย่างเป็นระบบ รู้จักการบูรณาการความรู้และปัญญา ที่นำไปสู่การพัฒนาตนเอง การทำรายงานและการนำเสนองานในชั้นเรียน 2-17 50%
4 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การถามตอบในชั้นเรียน มีความเป็นผู้นำและผู้ฟังที่ดี สามารถทำงานเป็นกลุ่มได้ 6-8 2%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการค้นคว้าเพื่อการจัดทำรายงานแบบกลุ่มหรือเดี่ยวได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2-17 2%
- หม่องทินอ่อง.2556. ประวัติศาสตร์พม่า. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
- ศ.ดร.สันติ เล็กสุขุม. 2554. ประวัติศาสตร์และประวัติศาสตร์ศิลปะพม่า. กรุงเทพฯ: ด่าน สุทธาการพิมพ์
- เจาะอาเซียน : รวมข้อมูลและบทวิเคราะห์เกี่ยวกับอาเซียน .  (2527).  กรุงเทพฯ : ชมรมวิเทศสัมพันธ์และสถาบันเอเชีย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- Kerlogue, Fiona. Arts of Southeast Asia. London: Thames & Hudson, 2004.
- Rawson, Philip S. The Art of Southeast Asia. New York: Thames & Hudson, 1990.
- แนวทางและการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวัฒนธรรมไทยสู่อาเซียน เพื่อความพร้อมต่อการเข้าร่วมเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ในเขตกรุงเทพมหานคร, ที่มา: https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journal-peace/article/view/123177 
- การนำเสนอเนื้อหาด้านวัฒนธรรม ของประเทศในกลุ่มอาเซียนในรายการสารคดีโทรทัศน์ไทย, ที่มา: https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jcmag/article/view/220069
- นาฏศิลป์: สื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่วัฒนธรรมไทยในเวทีประชาคมอาเซียน, ที่มา: https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jcmag/article/view/220110
- การพัฒนาดัชนีชี้วัดวัฒนธรรมอาเซียน และมาตรวัดวัฒนธรรมอาเซียนสำหรับสื่อ, ที่มา: https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jcomm/article/view/151881

 
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด
1.3 ข้อเสนอแนะผ่าน Google Form ที่ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางในการสื่อสารกับนักศึกษา               1.4นักศึกษาประเมินการสอนจากแบบสอบถามของเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.1 การสังเกตการณ์พฤติกรรมของผู้เรียน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
2.4 ผลการค้นคว้าจากรายงานของนักศึกษา 2.5 เชิญผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกเข้าร่วมในการเรียนการสอน 2.6 ผลการประเมินจากการให้มีการเผยแพร่องค์ความรู้ที่นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.3 การประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
  4.1 กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐาน ผลการเรียนรู้ของรายวิชา              4.2 ทวนสอบจากคะแนนการปฏิบัติ หรืองานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน
5.3 นำผลที่ได้จากการสอบถามความคิดเห็น คะแนนสอบของนักศึกษา การประชุมสัมมนานำมา สรุปผล และพัฒนารายวิชาก่อนการสอนในภาคเรียนต่อไป