เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์

Seed Technology

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้      
1.1 มีความรู้และทักษะปฏิบัติเกี่ยวกับสรีรวิทยาของเมล็ดพันธุ์ วิธีการผลิตเมล็ดพันธุ์ ชั้นของเมล็ดพันธุ์รับรอง มาตรฐานเมล็ดพันธุ์รับรอง การปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์ การควบคุมและตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ กฎหมายเมล็ดพันธุ์และธุรกิจเมล็ดพันธุ์สภาวะการผลิต และนโยบายการผลิตเมล็ดพันธุ์ในประเทศไทย       1.2 สามารถนำความรู้และทักษะด้านเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ไปประยุกต์ใช้ในการผลิตเมล็ดพันธุ์ได้       1.3 สามารถวิเคราะห์และตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ได้        1.4 มีความสามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม       1.5 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนมีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ อันเป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ไปใช้ในการผลิตพืชและการผลิตเมล็ดพันธุ์ จึงได้มีการปรับปรุงรายวิชาโดยมีการนำเอาผลงานวิจัยใหม่ๆ มาเพิ่มเติมในเนื้อหาของรายวิชา ให้ทันสมัยและสอดคล้องกับการพัฒนาด้านเมล็ดพันธุ์
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับสรีรวิทยาของเมล็ดพันธุ์ วิธีการผลิตเมล็ดพันธุ์ ชั้นของเมล็ดพันธุ์รับรอง  มาตรฐานเมล็ดพันธุ์รับรอง  การปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์ การควบคุมและตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์  กฎหมายเมล็ดพันธุ์และธุรกิจเมล็ดพันธุ์ สภาวะการผลิต และนโยบายการผลิตเมล็ดพันธุ์ในประเทศไทย           Study and practice of seed physiology, seed production methodology, class of seed certification, seed certification standards, seeds processing, seed quality control and testing, seed law and seed business, seed production conditions, and seed production policy in Thailand
3.1 จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล โดยนักศึกษาสามารถเข้าพบอาจารย์ผู้สอนเพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำได้ทุกวันพุธ เวลา 14.00 - 17.00 น. ณ ห้องพักอาจารย์ หรือ 3.2 นักศึกษาขอคำปรึกษาและคำแนะนำได้ทาง Line:kittituch E-mail:kittituch_thu@rmutl.ac.th เบอร์โทร 086-8272255
1) มีคุณธรรมและจริยธรรม  2) มีจรรยาบรรณ  
 
ทำการสอนแบบบรรยาย  โดย      - สอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหา โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม การรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม      -กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
ใช้วิธีการสังเกต จากพฤติกรรม     - การเข้าเรียนตรงเวลา     - การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด    - ไม่ทุจริตในการสอบ    -ความมีวินัยต่อการเรียน ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กำหนด    -การให้ความร่วมมือกับกลุ่ม ไม่เอาเปรียบซึ่งกันและกัน
1) มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ   2) มีความรอบรู้
1) กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)      - มอบหมายนักศึกษาไปค้นคว้าหาข้อมูลด้านเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์และจัดทำเป็นรายงานตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน 2) การสอนแบบบรรยาย 3) การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 4) การสอนในห้องปฏิบัติการ 
1) การนำเสนองาน        - ประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย 2) การทดสอบ         - โดยทำการทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค 3) สังเกตการณ์มีส่วนร่วมในชั้นเรียนในการตอบคำถาม 4) การปฏิบัติการตามบทปฏิบัติการ 5) การรายงานผลการปฏิบัติการ
1) สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ 2) สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3) ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้
1) การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)    - ฝึกวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา 2) การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) - ฝึกวิเคราะห์ปัญหาจากกรณีศึกษา โดยให้ไปค้นคว้าจากเอกสารต่าง ๆ ร่วมกับการค้นคว้าจากฐานข้อมูล และการแสดงความคิดเห็น
1) สังเกตการณ์การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การวิเคราะห์ปัญหา และการแสดงความคิดเห็น 2) การทดสอบ         - โดยทำการทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
1) ภาวะผู้นำ 2) มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ
การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)    -มอบหมายให้นักศึกษาเรียนรู้และทำงานร่วมกับกลุ่มฮักเมืองน่าน ในการทำกิจกรรมตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ร่วมกับกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ชุมชน โดยทำงานเป็นกลุ่ม
1)การสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรม 2) รายงานผลการตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ชุมชน
1) มีทักษะการสื่อสาร 2) มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
1) การสอนแบบ  Problem Base Learning โดยกำหนดให้สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต และต้องค้นคว้าจากวารสารหรือฐานข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษอย่างน้อย 1 เรื่อง 2) แนะนำและสาธิตการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 3) การนำเสนองานด้วยวาจาและ PowerPoint
การนำเสนองาน โดยประเมินความเหมาะสมและถูกต้องของ         - สื่อที่ใช้         - เนื้อหาที่นำเสนอ           - ภาษาที่ใช้                   - การตอบคำถาม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2
1 BSCAG131 เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) - การเข้าชั้นเรียน - การส่งรายงานตรงเวลา - การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด 1-17 5%
2 ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 1) การนำเสนองาน - ประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย 2) การทดสอบ - โดยทำการทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค 3) สังเกตการณ์มีส่วนร่วมในชั้นเรียนในการตอบคำถาม 4) การปฏิบัติการตามบทปฏิบัติการ 5) การรายงานผลการปฏิบัติการ 1)การนำเสนองาน ประเมินทุกสัปดาห์ 2) การทดสอบ - โดยทำการทดสอบย่อย สัปดาห์ที่ 4, 8 12, 16 สอบกลางภาค สัปาดห์ที่ 9 และสอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 18 3) สังเกตการณ์มีส่วนร่วมในชั้นเรียนในการตอบคำถาม 4) การปฏิบัติการตามบทปฏิบัติการ ประเมินทุกสัปดาห์ 70%
3 ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 1) งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง - ประเมินผลจากผลสัมฤทธิ์ของโครงงานพิเศษ 2) คุณภาพงานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 3) รายงานผลการปฏิบัติการ 4) การประเมินตนเอง สัปดาห์ที่ 2 – 15 15%
4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) 1) การนำเสนองาน/การรายงาน ประเมินความเหมาะสมและถูกต้องขององค์ประกอบในการนำเสนอ เช่น - การเตรียมความพร้อม - สื่อที่ใช้ - เนื้อหาที่นำเสนอ - ภาษาที่ใช้ - การตอบคำถาม 2) ประเมินความเหมาะสมและถูกต้องของ - สื่อที่ใช้ - เนื้อหาที่นำเสนอ - ภาษาที่ใช้ - การตอบคำถาม 17 5%
พิชัย  สุรพรไพบูลย์ และพิกุล  สุรพรไพบูลย์.  25ุ61.  เอกสารประกอบการสอนวิทยาการเมล็ดพันธุ์.  สาขาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, น่าน. 
เดชา บุญมลิซ้อน กุศล เอี่ยมทรัพย์ และชุมพร ถาวร.  2548.  การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเก็บรักษาและผลิตเมล็ดพันธุ์พืช.  สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ.  30 น. จวงจันทร์ ดวงพัตรา.  2529.  เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์.  กลุ่มหนังสือเกษตร, กรุงเทพฯ.  210 น.   ชยพร แอคะรัจน์.  2546.  วิทยาการเมล็ดพันธุ์.  ฐานเกษตรกรรม, กรุงเทพฯ.  197 น. ธีรศักดิ์ แสงเพ็ง.  2551.  ผลของการเคลือบ polymer ต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ผักบางชนิด.  ปัญหาพิเศษปริญญาตรี ภาควิชาพืชสวน (วท.บ. (เกษตรศาสตร์))--มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม.  31 น. นงลักษณ์ ประกอบบุญ.  2528.  การทดสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์.  โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ.  316 น. บุญนาค วิคแฮม.  2523.  วิทยาการเมล็ดพันธุ์ ตอนที่ 2.  ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.  112 น. ประนอม ศรัยสวัสดิ์.  2549.  วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์.  สมาคมเมล็ดพันธุ์แห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ.  116 น. ลำใย โกวิทยากร.  2523.  วิทยาการเมล็ดพันธุ์ ตอนที่ 1.  ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.  112 น. วันชัย จันทร์ประเสริฐ.  2542.  เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์พืชไร่.  สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.  276 น. วัลลภ สันติประชา.  2538.  บทปฏิบัติการเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์.  ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา.  227 น. วัลลภ สันติประชา.  2540.  เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์.  ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา.  212 น. สมชาติ โสภณรณฤทธิ์.  2535.  การอบแห้งเมล็ดธัญพืช.  คณะพลังงานและวัสดุ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, กรุงเทพฯ.  378 น. Desai, B.B.  2004.  Seeds handbook : biology, production, processing, and storage.  Marcel Dekker,  787 p. Copeland, L.O. and M. B. McDonald.  2001.  Principles of seed science and technology.  Kluwer Academic, Boston, Mass. 467 p. McDonald, M.B. and L.O. Copeland.  1989.  Seed science and technology : laboratory manual.  Iowa State University Press, Ames.  231 p. Black, M. and J. Derek Bewley.  2000.  Seed technology and its biological basis.  Sheffield Academic Press, Sheffield.  419 p. Agrawal, R.L.  1980.  Seed technology.  Oxford & IBH Pub., New Delhi.  685 p. Doijode, S.D.   2001.  Seed storage of horticultural crops.  Food Products Press, New York.  339 p.
ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.  2548.  การเสื่อมคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ [On-line]. Available : http://www.phtnet.org/article/view-article.asp?aID=24, March 14, 2010. [On-line] Available : http://www2.bioversityinternational.org/publications/Web_version/52/, March 14, 2010. [On-line] Available : http://www.seed.or.th/, March 14, 2010. ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวนครสวรรค์.  มปป.  หลักการผลิตเมล็ดพันธุ์ดี. [On-line]. Available :http://nsw-rice.com/index.php/seedtechno/process/19-seedtechno-fund, March 14, 2010. [On-line] Available : http://www.pub-law.net/library/act_plant.html, March 14, 2010.
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัยฯลฯ
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์  ในสาขาวิชา หรือ การสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดเมื่อสอนจบภาคการศึกษา นอกจากนี้สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน  และมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนนของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป