การส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร

Agricultural Technology Transfer and Extension

ศึกษาความสำคัญของการส่งเสริมการเกษตร การเรียนรู้ และกระบวนการเรียนรู้ การวิเคราะห์ปัญหาการเกษตรเพื่อการวางแผนส่งเสริมแบบยั่งยืน กระบวนการยอมรับนวัตกรรมของเกษตรกร หลักการและวิธีการถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร และแหล่งข้อมูลข่าวสารสนเทศทางการเกษตร
1. ศึกษาความสำคัญของการส่งเสริมการเกษตร การเรียนรู้ และกระบวนการเรียนรู้  2. การวิเคราะห์ปัญหาการเกษตรเพื่อการวางแผนส่งเสริมแบบยั่งยืน 3. กระบวนการยอมรับนวัตกรรมของเกษตรกร 4. หลักการและวิธีการถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร 5. และแหล่งข้อมูลข่าวสารสนเทศทางการเกษตร  แก้ไข
กษาความสำคัญของการส่งเสริมการเกษตร การเรียนรู้ และกระบวนการเรียนรู้ การวิเคราะห์ปัญหาการเกษตรเพื่อการวางแผนส่งเสริมแบบยั่งยืน กระบวนการยอมรับนวัตกรรมของเกษตรกร หลักการและวิธีการถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร และแหล่งข้อมูลข่าวสารสนเทศทางการเกษตร
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่น และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม สอดแทรก ให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมเกิดขึ้นเช่นเดียวกับการประกอบอาชีพในสาขาอื่น ๆ  มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบ โดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในการสอนทุกรายวิชารวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดีทำประโยชน์แก่ส่วนรวมและเสียสละ 
(1) ประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติอย่างถูกต้อง (2) ความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหาเฉพาะหน้า (3) ความสำเร็จและคุณภาพของผลงาน
มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในการเป็นนักส่งเสริมการเกษตรอย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และทักษะการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้ (1) ประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติอย่างถูกต้อง (2) ความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหาเฉพาะหน้า (3) ความสำเร็จและคุณภาพของผลงาน
สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และทักษะการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้ (1) ประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติอย่างถูกต้อง (2) ความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหาเฉพาะหน้า (3) ความสำเร็จและคุณภาพของผลงาน  แก้ไข
ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และทักษะการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้ (1) ประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติอย่างถูกต้อง (2) ความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหาเฉพาะหน้า (3) ความสำเร็จและคุณภาพของผลงาน  แก้ไข
 
1) มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน 2) มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ  แก้ไข
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ  แก้ไข
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และทักษะการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้ (1) ประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติอย่างถูกต้อง (2) ความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหาเฉพาะหน้า (3) ความสำเร็จและคุณภาพของผลงาน  แก้ไข
มีทักษะการส่งเสริมการเกษตร หมายถึง มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติส่งเสริมการเกษตรตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ  แก้ไข
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และทักษะการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้ (1) ประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติอย่างถูกต้อง (2) ความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหาเฉพาะหน้า (3) ความสำเร็จและคุณภาพของผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2 1
1 BSCAG014 การส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 3.1, 5.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 3 30%
2 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 3.5 การสอบกลางภาค 8 20%
3 1.3, 2.1,2.2, 3.1, 3.2, 4.1, 4.3, 5.1, 5.2, 5.3 การสอบปลายภาค 17 20%
4 1..3, 2.3, 3.1, 3.2, 4.3, 5.3 บทปฏิบัติการ ตลอดภาคการศึกษา 30%
สุรพล เศรษฐบุตร. (มปป). การส่งเสริมการเกษตรและการพัฒนาชนบท. สาขาวิชาส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร ภาควิชาพัฒนาเศรษฐกิจการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. https://agecon-extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course_352721.htm. 
พัฒนา สุขประเสริฐ. (2557). ศาสตร์เพื่อการส่งเสริมการเกษตร เล่มที่ 1 (หลักการ รูปแบบและกลยุทธ์). ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
พัฒนา สุขประเสริฐ. (2557). ศาสตร์เพื่อการส่งเสริมการเกษตร เล่มที่ 2 (วิธีการและขั้นตอน). ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
พัฒนา สุขประเสริฐ. (2557). ศาสตร์เพื่อการส่งเสริมการเกษตร เล่มที่ 3 (เทคนิคในการส่งเสริม และการส่งเสริมอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ). ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
 
- กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์  https://www.doae.go.th/index.php
- สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ https://www.oae.go.th 
- สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ https://www.doa.go.th/fcri  
- กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ https://www.ricethailand.go.th
- สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย กระทรวงอุตสาหกรรม http://www.ocsb.go.th
- กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ https://www.dft.go.th
- กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์  https://www.ditp.go.th
- องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร (อ.ต.ก) http://www.mof.or.th  
- การยางแห่งประเทศไทย https://www.raot.co.th 
- สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) https://www.hrdi.or.th
- สมาคมพ่อค้าข้าวโพดและพืชพันธุ์ไทย http://www.thaimaizeandproduce.org
- สมาคมโรงสีข้าวไทย http://www.thairicemillers.org
- สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย http://www.thairiceexporters.or.th  
- มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย https://tapiocathai.org
- สมาคมโรงงานผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังไทย http://thaitapioca.org 
- ตลาดไท https://talaadthai.com
- คณาจารย์ภาควิชาพืชไร่นา. 2547. พืชเศรษฐกิจ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
- พิสุทธิ์ เอกอำนวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
- ดวงพร สุวรรณกุล และรังสิต สุวรรณเขตนิคม. 2544. วัชพืชในประเทศไทย. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
- วันชัย จันทร์ประเสริฐ. 2542. เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์พืชไร่. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา  แก้ไข
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน นอกจากนี้ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน-การสอนควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข  แก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน โดยการสุ่มรายวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของสาขาวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอนหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนา ในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุง พร้อมนำเสนอสาขาวิชา / คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป