สรีรวิทยาของพืช

Plant Physiology

.1 เข้าใจเกี่ยวกับความหมายความสำคัญและขอบเขตของสรีรวิทยาของพืช 1.2 เข้าใจเกี่ยวกับเซลล์และองค์ประกอบของเซลล์พืชที่เกี่ยวข้องกับเมแทบอลิซึม 1.3 เข้าใจเกี่ยวกับสารประกอบที่เกี่ยวข้องกับเมแทบอลิซึม 1.4 เข้าใจกระบวนการเมแทบอลิซึมของพืช เช่น การหายใจ การสังเคราะห์แสง 1.5 เข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญและหน้าที่ของธาตุอาหารต่าง ๆ ในพืช ตลอดจนกระบวนการตรึงไนโตรเจนของพืช 1.6 เข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างพืชกับน้ำ  ในเรื่องการดูดน้ำการลำเลียงน้ำและการคายน้ำ 1.7 เข้าใจเกี่ยวกับสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช 1.8 เข้าใจเกี่ยวกับการเจริญเติบโตและการพัฒนาของพืช
ปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยเหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับองค์ประกอบทางเคมีของเซลล์พืช  หน้าที่ทางสรีรวิทยาและเมทาบอลิซึมขององค์ประกอบทางเคมีของเซลล์พืช เช่น คาร์โบไฮเดรต กรดอมิโนและโปรตี เอนไซม์ กรดไขมันและลิปิด กรดนิวคลีอิค วิตามิน และเกลือแร่   ตลอดจนกระบวนการเมทาบอลิซึมต่าง ๆที่เกิดขึ้นในพืช เช่น การหายใจ การสังเคราะห์แสงการตรึงไนโตรเจน ธาตุอาหารพืช และการดูดซึม การเคลื่อนย้ายลำเลียงธาตุอาหารในพืช   ความสัมพันธ์ระหว่างน้ำกับพืช   สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช การเจริญเติบโตและการพัฒนาของพืช
 
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- จะมีการสอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหา โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม    จริยธรรม - กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ - ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย - มีความซื่อสัตย์ในการสอบ
-  เข้าเรียนตรงเวลา - ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด - ไม่มีการทุจริตในการสอบ
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- การบรรยาย ยกตัวอย่าง การคิด วิเคราะห์ ถาม-ตอบ ในชั้นเรียน - ทดลองในห้องปฏิบัติการและในพืชทดสอบ - นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมและจัดทำเป็นรายงานตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 
 
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
วิเคราะห์กรณีศึกษา และการนำเสนอผลงาน
สอบกลางภาคและปลายภาค
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- มอบหมายงานเป็นกลุ่ม    ฝึกทักษะการเป็นผู้นำกลุ่ม และสมาชิกที่ดี ในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย - ให้มีการรายงานหน้าชั้นเรียนและเปิดโอกาสให้มีการถาม-ตอบ
- ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ทำเป็นกลุ่ม - สังเกตุจากพฤติกรรมของนักศึกษา
5.1.1   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร  5.1.2   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
 
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ  5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
สมบุญ เตชะภิญญาวัฒน์.  2548.  สรีรวิทยาของพืช.  ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.  252 น