การเพาะเลี้ยงกบ

Frog Culture

1.1 เรียนรู้และปฏิบัติเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงกบ
1.2 เรียนรู้เกี่ยวกับชีววิทยาของกบ
1.3 เรียนรู้เกี่ยวกับการเลือกสถานที่และรูปแบบการเพาะเลี้ยงกบ
1.4 เรียนรู้และเข้าใจวิธีการเพาะขยายพันธุ์กบ
1.5 เรียนรู้และปฏิบัติเกี่ยวกับการอนุบาลลูกกบ
1.6 เรียนรู้และเข้าใจโรค ปรสิตและการรักษา
1.7 เรียนรู้วิธีการจับจำหน่ายและวิธีการขนส่ง
1.8 เรียนรู้เกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคของการเลี้ยงกบ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกิดทักษะต่างๆที่มีความเกี่ยวข้องกับการเพาะเลี้ยงกบ เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ   ในวิชาการเพาะเลี้ยงกบ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านการเพาะเลี้ยงกบให้เกิดความทันสมัยอยู่ตลอดเวลา
ศึกษาเรียนรู้และปฏิบัติเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงกบ ชีววิทยาของกบ การเลือกสถานที่และรูปแบบการเพาะเลี้ยงกบ วิธีการเพาะขยายพันธุ์กบ การอนุบาลลูกกบ อาหารและการให้อาหารกบ รวมถึง โรคกบและวิธีการรักษาป้องกัน วิธีการจับ ลำเลียงและจำหน่ายกบ
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านกลุ่มในFacebook
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์  และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  มีความซื่อสัตย์ในการเขียนโปรแกรมอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
1.1.1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
โดยข้อ 1.1.3 และข้อ 1.1.4 เป็นความรับผิดชอบหลัก
บรรยายพร้อมกับฝึกปฏิบัติในด้านการเพาะเลี้ยงกบให้เกิดความชำนาญรวมถึงการลำเลียงขนส่งพร้อมทั้งหาช่องทางจัดจำหน่าย

1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ
นักศึกษาต้องมีความรู้เกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงกบ มีคุณธรรม จริยธรรม และความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาที่ศึกษานั้นต้องเป็นสิ่งที่นักศึกษาต้องรู้เพื่อใช้ประกอบอาชีพและช่วยพัฒนาสังคม ดังนั้นมาตรฐานความรู้ต้องครอบคลุมสิ่งต่อไปนี้
2.1.1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
โดยข้อที่ 2.1.1 เป็นความรับผิดชอบหลัก
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
2.3 วิธีการประเมินผล
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
                พัฒนานักศึกษาให้สามารถพัฒนาตนเองและประกอบวิชาชีพได้โดยพึ่งตนเองได้เมื่อจบการศึกษาแล้ว ดังนั้นนักศึกษาจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาทักษะทางปัญญาไปพร้อมกับคุณธรรม จริยธรรม และความรู้เกี่ยวกับหลักสูตรเกษตรศาสตร์(ประมง) ในขณะที่สอนนักศึกษา อาจารย์ต้องเน้นให้นักศึกษาคิดหาเหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา วิธีการแก้ปัญหารวมทั้งแนวคิดด้วยตนเอง ไม่สอนในลักษณะท่องจำ นักศึกษาต้องมีคุณสมบัติต่างๆ จากการสอนเพื่อให้เกิดทักษะทางปัญญาดังนี้
3.1.1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
โดยข้อ 3.1.2 เป็นความรับผิดชอบหลัก
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษา  ในการปฏิบัติจริงที่มีปัญหาเกิดขึ้น
3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบให้ครบถ้วนทั้งทางด้านความรู้และความจำ
3.3.2   วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
นักศึกษาต้องออกไปประกอบอาชีพซึ่งส่วนใหญ่ต้องเกี่ยวข้องกับบุคคลที่ไม่รู้จักมาก่อน บุคคลที่มาจากสถาบันอื่นๆ และบุคคลที่จะมาเป็นผู้บังคับบัญชา หรือบุคคลที่จะมาอยู่ใต้บังคับบัญชา ความสามารถที่จะปรับตัวให้เข้ากับกลุ่มคนต่างๆ เป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้นอาจารย์ต้องสอดแทรกวิธีการที่เกี่ยวข้องกับคุณสมบัติต่างๆ ต่อไปนี้ให้นักศึกษาระหว่างที่สอนวิชา หรืออาจให้นักศึกษาไปเรียนวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่เกี่ยวกับคุณสมบัติต่างๆ นี้
4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดี
4.2.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
โดยข้อ4.2. 2 เป็นความรับผิดชอบหลัก
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าเทคนิคใหม่ๆในการเพาะเลี้ยงกบ หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1  ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง    
               5..1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
               5.1.2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
               5.1.3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยข้อ 5.1. 1 เป็นความรับผิดชอบหลัก
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1 มีทักษะการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม
               6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ
โดยข้อ 6.1.2 เป็นความรับผิดชอบหลัก
              6.2.1ให้นักศึกษาค้นคว้าวิธีการใช้เครื่องมืออย่างถูกต้องพร้อมอธิบายเพิ่มเติมก่อนนำเครื่องมือมาใช้ทุกครั้ง
สังเกตุการณ์และทดสอบการปฏิบัติที่ชำนาญ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 4.เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 1.มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2.มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 1.มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดี 2.มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1.สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2.สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3.สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.มีทักษะการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม 2.ทักษะในการปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ
1 BSCAG324 การเพาะเลี้ยงกบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 มีจิตส านึกสาธารณะและ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่ง งานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขต ที่ให้และตรงเวลา 1-16 5
2 เคารพสิทธิในคุณค่าและ ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย ประเมินผลการนำเสนอ รายงานที่มอบหมาย 4,8,12,16 5
3 มีความรู้และความเข้าใจทั้ง ด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติใน เนื้อหาที่ศึกษา ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้น การวัดหลักการและทฤษฎี 9,17 10
4 สามารถติดตามความก้าวหน้า ทางวิชาการและเทคโนโลยีของ สาขาวิชาที่ศึกษา ประเมินจากการน าเสนอผล การค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือ โจทย์จาก Problem – based Learnin 16 10
5 สามารถบูรณาการความรู้ที่ ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้อ ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้น การวัดหลักการและทฤษฎ 9,17 10
6 มีภาวะความเป็นผู้น าและผู้ ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประเมินจากรายงานที่น าเสนอ พฤติกรรมการท างานเป็นทีม 7 10
7 สามารถเลือกใช้วิธีการและ เครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม ประเมินจากรายงาน และ รูปแบบการน าเสนอด้วยสื่อ เทคโนโลยี 7,10,16 10
8 สามารถเลือกใช้วิธีการและ เครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม ประเมินจากรายงาน และ รูปแบบการน าเสนอด้วยสื่อ เทคโนโลย 3,14 10
9 มีทักษะในการน าความรู้มาคิด และใช้อย่างมีระบบ วัดผลจากการประเมิน โครงการ การน าเสนอผลงาน สังเกตพฤติกรรมการแก้ไข ปัญหา 4,6,16 30
ดิ์ แสงธรรม. (2542). การเลี้ยงกบ. กรุงเทพฯ: ฐานเกษตรกรรม. ทองยุ่น ทองคลองไทร. (2547). การเพาะเลี้ยงกบ. กาฬสินธุ์: หจก.พี.เอ็น. คอมพิวเตอร์. ทองยุ่น ทองคลองไทร. (2558). การเพาะเลี้ยงกบ (Frog Culture) (พิมพ์ครั้งที่ 11). กาฬสินธุ์: หนึ่ง

ก๊อปปี้เซ็นเตอร์.

ธัญญา จั่นอาจ. (2546). คู่มือสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกในเมืองไทย. กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์. บรรเจิด ศิยะพงษ์. (2538). การศึกษาการเกิดโรคติดเชื้อแบคทีเรียในกบนา (Rana tigerina Cantor)

(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ). สืบค้นจาก https://tdc.thailis.or.th/tdc

ประวิทย์ สุรีนาถ. (2522). หลักการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ. กรุงเทพฯ: คณะประมง

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ผุสดี ปริยานนท์, กัมพล อิศรางกูร ณ อยุธยา, นงเยาว์ จันทร์ผ่อง, ธีรวรรณ นุตประพันธ์, สีมา ชัย

สวัสดิ์, อารมณ์ รัศมิทัต, … ลิขิต ปรียาวงคากุล. (2530). การศึกษาชีววิทยาของกบนา (Rana tigerina) : ปัญหาและการพัฒนาการเลี้ยงกบนาในประเทศไทย (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ผุสดี ปริยานนท์, กัมพล อิศรางกูร ณ อยุธยา, นงเยาว์ จันทร์ผ่อง, ธีรวรรณ นุตประพันธ์, วิโรจน์ ดาว

ฤกษ์ และพนวสันต์ เอี่ยมจันทร์. (2533). การพัฒนาการทำฟาร์มเลี้ยงกบนา (Rana tigerina) และการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยวิธีผสมผสาน (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ผุสดี ปริยานนท์, ประคอง ตังประพฤธิ์กุล, นงเยาว์ จันทร์ผ่อง, ธีรวรรณ นุตประพันธ์. (2538). การ

คัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์กบเพื่อประโยชน์ในภาคอุตสาหกรรม (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ผุสดี ปริยานนท์, สุดสนอง ผาตินาวิน, กัมพล อิศรางกูร ณ อยุธยา, นงเยาว์ จันทร์ผ่อง, ธีรวรรณ นุต

ประพันธ์, วิโรจน์ ดาวฤกษ์ และพนวสันต์ เอี่ยมจันทร์. (2532). การพัฒนาการเลี้ยงกบในประเทศไทย 2531 (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เพ็ญพรรณ ศรีสกุลเตียว. 2553. ฮอร์โมนในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ. ขอนแก่น: โรงพิมพ์

มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

เมฆ บุญพราหมณ์, วิทย์ ธารชลานุกิจ, และประวิทย์ สุรนีรนาถ. (2520). การเลี้ยงกบ. กรุงเทพฯ:

มหาวิยาลัยเกษตรศาสตร์.

ไมตรี ดวงสวัสดิ์ และจารุวรรณ สมศิริ. 2528. คุณสมบัติของน้ำและวิธีวิเคราะห์ สำหรับการวิจัย

ทางการประมง (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: สถาบันประมงน้ำจืดแห่งชาติกรมประมง.

วัชระ สงวนสมบัติ. (2544). สะเทินน้ำ-สะเทินบก ชีวิตครึ่ง ๆ ของเจ้าเลือดเย็น. ใน อภิศักดิ์ ธุลีวรรณ

(บ.ก.), นิตยสาร ADVANCE THAILAND GEOGRAPHIC 6(47) (น. 112-146). กรุงเทพฯ: รุ่งเรืองรัตนพริ้นติ้ง.

วัฒนะ ลีลาภัทร. 2532. การใช้ฮอร์โมนสังเคราะห์และยาเสริมฤทธิ์ในการเพาะพันธุ์ปลา. วารสารการ

ประมง, 42(4), 275-278.

วิเชฏฐ์ คนซื่อ, ปรวีร์ พรหมโชติ, และกันย์ นิติโรจน์. (2549). สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกที่ทองผาภูมิ

ตะวันตก. กรุงเทพฯ: โครงการ BRT

วิรัช จิ๋วแหยม. (2554). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคุณภาพน้ำและการวิเคราะห์คุณภาพน้ำในบ่อ

เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิโรจน์ นุตพันธุ์. (2544). สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: บ้านและสวน. วุธเมธี วรเสริม. (2562). ผลของอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเพาะขยายพันธุ์กบนาลูกผสมในฤดูหนาว

(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, มหาสารคาม). สืบค้นจาก https://tdc.thailis.or.th/tdc

เวียง เชื้อโพธิ์. (2542). โภชนศาสตร์สัตว์น้ำและการให้อาหารสัตว์น้ำ. กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สุทธิลักษณ์ อำพันวงศ์. (2532). การเลี้ยงกบ. กรุงเทพฯ: องค์การค้าคุรุสภา สุภาพร สุกสีเหลือง. (2554). เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ. สุภาพร อารีกิจ. 2540. การศึกษาเนื้อเยื่อปกติของกบนา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. Pornchai, L. (1996). Cultivation of Rana tigerina and R. catesbeiana using artificial feed

(Master’s thesis, Mahidol University, Bangkok). Retrieved from https://tdc.thailis. or.th/tdc
ทิพย์  อินธาระ. (2543). การศึกษาโครงสร้างปากที่มีความสัมพันธ์กบการกินอาหารของลูกอ๊อด

บางชนิด (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ). สืบค้นจาก https://dric.nrct.go.th/Search/SearchDetail

ณัฐนันท์ หลักคำ. (2548). การดำเนินธุรกิจการเลี้ยงกบและการจำหน่ายกบ กรณีศึกษาอำเภอ

กาฬสินธุ์ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม). สืบค้นจาก https://tdc.thailis.or.th/tdc

ทะนุพงศ์ กุสุมา ณ อยุธยา. 2564. ชาวบ้านที่อุทัยฯ เลี้ยงกบกระชังน้ำ สุขภาพดี ตัวใหญ่ เนื้อมาก

ตลาดชอบ. สืบค้น 30 ตุลาคม 2564, จาก https://www.technologychaoban.com /fishery-technology/ article_71659

เทพพิทักษ์ บุญทา. (2556). ผลของรูปแบบการเลี้ยงและอาหารที่เหมาะสมสำหรับการผลิตกบนา

(Rana rugulosa, Wiegmann) (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่). สืบค้นจาก https://tdc.thailis.or.th/tdc

นภปดล. (2553). กบ…เลี้ยงง่ายขายคล่อง. กรุงเทพฯ: ไพลิน. ผู้จัดการออนไลน์. (2564, 16 มิถุนายน). ชาวเรณูนครเลี้ยง “ลูกอ๊อด-กบ” แช่แข็งขายทั่วไทยและ

ส่งออกโกยรายได้ทั้งปี. สืบค้น 9 กุมภาพันธ์ 2565, จาก https://mgronline.com /local/detail/964000 0058082

พรจักร มนูธรรม, ยงยศ เกียรติกุล, และวรวุฒิ อังสุหัสต์. (ม.ป.ป.). การเลี้ยงกบเพื่อการส่งออก.

สืบค้น 9 กุมภาพันธ์ 2565, จาก file:///C:/Users/HP/Downloads/การเลี้ยงกบเพื่อการส่งออก%20มธ.pdf

ภาณุวัฒน์ นาคสิงค์. (ม.ป.ป.). การเพาะเลี้ยงกบ สัตว์เศรษฐกิจยอดนิยม. กรุงเทพฯ: เพชรกะรัต

สติวดิโอ.

ภาวนา กังเตีย. (ม.ป.ป.). ปฏิบัติการผ่ากบ (Frog Dissection). สืบค้น 9 กุมภาพันธ์ 2565, จาก

http://scimooc.bsru.ac.th/file/article/20200825-181419.pdf

มนตรี แสนสุข. (2557). เลี้ยงกบ ฝ่าวิกฤติเศรษฐกิจครัวเรือน. กรุงเทพฯ: นานาสำนักพิมพ์ในเครือ

บริษัท ยิปซี กรุ๊ป.

รุจิราภรณ์ มุสิกะพันธ์. (2551). ความรู้ในการเพาะเลี้ยงและขยายพันธุ์กบนา ของเกษตรกรหมู่บ้าน

รอบศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่). สืบค้นจาก https://tdc.thailis.or.th/tdc

สมเกียรติ ตันตา, และบริวัชร สืบคุณะ. (2560). การเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ด้วยสื่อการเพาะ 

ขยายพันธุ์กบ. สืบค้น 9 กุมภาพันธ์ 2565, จาก https://tdc.thailis.or.th/tdc/browse. php?option=show&browse_type=title&titleid=522862&query

 สมเกียรติ ตันตา, (2561). เทคนิคการเลี้ยงพ่อ-แม่พันธุ์กบเพื่อป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรียในอวัยวะ

ภายใน (รายงานผลการวิจัย). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.

สมพงษ์ บัวแย้ม. (2553). ครบเครื่องเรื่องการเลี้ยงกบ. กรุงเทพฯ: ทานตะวัน สมพงษ์ บัวแย้ม. (ม.ป.ป.). เลี้ยงกบคอนโดร่วมกับปลาดุก. กรุงเทพฯ: พงษ์สาส์น. สมพร คำพร. (2551). แนวทางการพัฒนากระบวนการเลี้ยงกบตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในโครงการ

เลี้ยงกบเพื่อความสมดุลตามธรรมชาติ ตำบลเกาะเกิด อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, พระนครศรีอยุธยา). สืบค้นจาก https://tdc.thailis.or.th/tdc

สาระเกษตร. 2562. “เลี้ยงกบ” คอนโดเลี้ยงง่าย ต้นทุนต่ำประหยัดพื้นที่. สืบค้น 30 ตุลาคม 2564,

จาก https://www.sarakaset.com/2019/06/10/

สาระเกษตร. 2563. การเพาะเลี้ยงกบโดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ง่ายลดต้นทุน. สืบค้น 30 ตุลาคม

2564, จาก https://www.sarakaset.com/2020/08/26/

สุรเดช สดคมขำ. 2564. เกษตรกรสุพรรณบุรี เลี้ยงกบในกระชังบก ทำได้ง่ายใช้น้ำน้อย. สืบค้น 30

ตุลาคม 2564, จาก https://www.technologychaoban.com/fisherytechnology/ article_72587

สุวโรจน์ ดีเดิม. (2553). แนวทางในการส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงกบในคอนโด ของเทศบาลตำบลหนอง

ไข่น้ำ อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น). สืบค้นจาก https://tdc.thailis.or.th/tdc

อภิชาต ศรีสอาด. (2554). คู่มือสารพันวิธีการเลี้ยงกบ. กรุงเทพฯ: บริษัท นาคา อินเตอร์มีเดีย.
วิจัยเรื่องการเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์กบเพื่อป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรียในอวัยวะภายใน วารสารมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ปี2565 โดยสมเกียรติ  ตันตา  
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ