การควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์

Quality Control in Printing and Packaging

1. รู้เกี่ยวกับมาตรฐานทางการพิมพ์
2. เข้าใจการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์
3. เข้าใจกระบวนการควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์
4. เข้าใจสาเหตุและปัญหาในแต่ละระบบการพิมพ์และประเภทสิ่งพิมพ์
ศึกษาเกี่ยวกับมาตรฐานทางการพิมพ์  การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ ขั้นตอนของกระบวนการควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาตามกระบวนการของแต่ละระบบการพิมพ์และประเภทของสิ่งพิมพ์
2 ชั่วโมง โดยระบุวัน เวลา  ไว้ในตารางสอนและแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรม จริยธรรม มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
สอดแทรกกิจกรรมในระหว่างการสอนเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรมในการสอนให้กับนักศึกษา สอดแทรกความรู้ทางด้านจรรยาบรรณด้านวิชาการและวิชาชีพให้กับนักศึกาในรายวิชา สอนให้นักศึกษารู้จักหน้าที่ ความรับผิดชอบในการทำงานต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1. การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย
               2. ความรับผิดขอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
           1. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
           2. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
           3. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
บรรยายและอภิปรายในชั้นเรียนรูปแบบออนไลน์โดยเน้นหลักการทฤษฏีในการวิเคราะห์และ

แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการพิมพ์เพื่อควบคุมให้งานพิมพ์มีคุณภาพ

นักศึกษาประยุกต์ความรู้ภาคทฤษฏีสำหรับใช้ในการฝึกปฏิบัติ การทำงานเดี่ยว ตลอดจนการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและรายงาน
การสอบกลางภาค ปลายภาคเรียน ประเมินผลจากการมอบหมายงาน
มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
การมอบหมายงานให้นักศึกษาประยุกต์ความรู้ภาคทฤษฏีสำหรับใช้ในการฝึกปฏิบัติ นักศึกษาวิเคราะห์และสรุปข้อมูลจากตัวอย่างงานพิมพ์จริง เพื่ออธิบายแนวทางในการควบคุม

คุณภาพงานพิมพ์
           1. ผลงานสำเร็จและการรายงาน
           1. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
           2. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
           3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
           4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
สอดแทรกการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีในการทำงานเดี่ยว ตลอดจนการยอมรับความคิดเห็นที่

แตกต่างของแต่ละคน

ฝึกให้นักศึกษามีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
           1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงาน 
           2. การตรงต่อเวลาในการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
           1. บรรยายและอภิปราย
           2. การนำเสนอโดยการวิเคราะห์การแก้ปัญหาโดยใช้เทคโนโลยีและแหล่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตร่วมในการวิเคราะห์
           1. การนำเสนอโดยใช้สื่อที่เหมาะสม
           2. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายร่วมกัน
1. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
           2. มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติได้ตามข้อแนะนำ
           1. บรรยาย
           2. ดูแล ให้คำแนะนำ ปรึกษา
           3. นักศึกษานำเสนอรายงาน
           1. กระบวนการทำงานถูกต้องตามขั้นตอน
           2. ผลงานสำเร็จที่มีคุณภาพ
           3. ตรงตามกำหนดเวลา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 2. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรม จริยธรรม 3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 3. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา 1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 1. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 1. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 2. มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติได้ตามข้อแนะนำ
1 BTEPP116 การควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม 1. การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย 2. ความรับผิดขอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ความรู้ 1. การสอบกลางภาค ปลายภาคเรียน 2. ประเมินผลจากการมอบหมายงาน 9, 18 ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 ทักษะทางปัญญา 1. ผลงานสำเร็จและการรายงาน ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงาน 2. การตรงต่อเวลาในการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 5%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. การนำเสนอโดยใช้สื่อที่เหมาะสม 2. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายร่วมกัน ตลอดภาคการศึกษา 5%
6 ทักษะพิสัย 1. กระบวนการทำงานถูกต้องตามขั้นตอน 2. ผลงานสำเร็จที่มีคุณภาพ 3. ตรงตามกำหนดเวลา ตลอดภาคการศึกษา 30%
เอกสารการสอนวิชาการจัดการทางการผลิตและการควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ หน่วยที่ 1-5 ,    6-10 และ 11-15  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
               
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ