ออกแบบทัศนศิลป์

Visual Design

- เพื่อให้นักศึกษารู้จักทฤษฎีของการออกแบบจัดองค์ประกอบศิลป์ในทัศนธาตุต่างๆ  
- มีทักษะในการจัดองค์ประกอบทั้งงาน 2 มิติและ 3 มิติ
- มีทักษะในการผสมผสานงานทัศนศิลป์ทุกแขนง
- มีความซาบซึ้งและตระหนักในคุณค่าของงานองค์ประกอบศิลป์เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ต่อไป
- เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับองค์ประกอบศิลป์ทางงานสถาปัตยกรรม  
- เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนวิชาอื่นๆในหลักสูตรวิชาสถาปัตยกรรมต่อไป พร้อมทั้งเพิ่มแนวคิดรวมถึงตัวอย่างประกอบการเรียนให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม  และสถานการณ์ปัจจุบัน โดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบ
- ศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบมูลฐานและหลักการออกแบบทางศิลปะ ภาษาภาพ และแนวความคิดและแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ 
- ฝึกปฎิบัติการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ 2 มิติ และ 3 มิติ
-   อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่าน Social Media โดยผู้สอนได้ตั้งกลุ่มขึ้นเพื่อใช้สื่อสารระหว่างผู้เรียน
-   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
-   อาจารย์ประจำรายวิชาสามารถให้คำปรึกษาด้วยระบบออนไลน์ได้
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบมีวินัย เป็นสถาปนิกนักปฏิบัติที่มีความซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อสังคม โดยมีคุณธรรม  จริยธรรม จรรยาบรรณตามคุณสมบัติของหลักสูตรดังนี้
1.1.1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1 อบรมเรื่องคุณธรรมจริยธรรมให้แก่นักศึกษาก่อนสอนเป็นเวลา  5  นาทีก่อนสอนทุกสัปดาห์
1.2.2 จัดกลุ่มนักศึกษาช่วยงานประจำสัปดาห์
1.2.3 จัดให้นักศึกษาส่งงานที่ทำเสร็จแล้วด้วยตัวเอง ณ ชั้นส่งผลงานที่ผู้สอนจัดไว้ให้
1.2.4 จัดกลุ่มนักศึกษาเพื่อดูแลเรื่องความสะอาด ก่อนเรียนและหลังเลิกเรียน
1.3.1 ประเมินผลจากการส่งงานตรงตามเวลาที่กำหนด
1.3.2 สังเกตจากการช่วยเหลือในการจัดเตรียมอุปกรณ์การสอนของนักศึกษาในแต่ละสัปดาห์
1.3.3 ประเมินจากสภาพภายในห้องเรียนก่อนสอน และหากนักศึกษาที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลไม่ปฏิบัติหน้าที่ ผู้สอนจะหักคะแนนจิตพิสัย
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏี และหลักการปฏิบัติ ในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้า ทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 อธิบายวิธีการ ขั้นตอนต่าง ๆ เกี่ยวกับเทคนิคการวิธีการจัดองค์ประกอบทางศิลปะ การออกแบบเบื้องต้น โดยใช้องค์ประกอบมูลฐานหลักการออกแบบทางศิลปะเพื่อสร้างสรรค์งาน 2 มิติและ 3 มิติ
2.2.2 ฝึกปฏิบัติการจัดองค์ประกอบทางศิลปะ การออกแบบเบื้องต้น โดยใช้องค์ประกอบมูลฐานหลักการออกแบบทางศิลปะเพื่อสร้างสรรค์งาน 2 มิติและ 3 มิติ
2.2.3 ฝึกวิจารณ์ผลงานการออกแบบเบื้องต้น โดยใช้องค์ประกอบมูลฐานหลักการออกแบบทางศิลปะเพื่อสร้างสรรค์งาน 2 มิติและ 3 มิติ ของเพื่อนร่วมชั้นเรียน
2.2.4 มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้า ศึกษาเพิ่มเติมผลงานการจัดองค์ประกอบศิลปะ ใน website ที่เกี่ยวข้อง ก่อนการเรียน
2.2.5 มอบหมายให้นักศึกษาดูงานนิทรรศการศิลปะต่างๆที่จัดขึ้น
2.3.1 ตรวจผลงานของนักศึกษาทุกสัปดาห์ด้วยการมีส่วนร่วมของนักศึกษาทุกคนในการคัดกรอกผลงานตามกลุ่ม
2.3.2 ตรวจให้คะแนนจากผลงาน
2.3.3 ประเมินและให้คะแนน การส่งงานตรงตามเวลาที่กำหนด
2.3.4 นักศึกษาต้องนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าจาก website ตลอดจนดูงานด้านศิลปะ หน้าชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกัน
3.1  พัฒนาให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และมีความสามารถมองเห็นคุณค่าทางความงามของงานที่นำเสนอ
     3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
     3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้ความคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 อธิบายพร้อมยกตัวอย่างการนำความรู้เรื่ององค์ประกอบศิลปะ ไปประยุกต์ใช้ในการประกอบวิชาชีพ
3.2.2 ฝึกปฏิบัติตามบทเรียนที่กำหนดให้ในแต่ละสัปดาห์
3.2.2 ฝึกปฏิบัติให้นักศึกษาจัดองค์ประกอบมูลฐานด้วยหลักการออกแบบทางศิลปะ เพื่อสร้างสรรค์งาน 2 มิติและ 3 มิติ
3.2.3 ฝึกให้นักศึกษาฝึกหัดวิจารณ์ผลงานของเพื่อนในกลุ่ม social media
3.3.1 วัดผลจาก งานสอบกลางภาคและปลายภาคโดยเน้นปฏิบัติในการจัดองค์ประกอบมูลฐานด้วยหลักการออกแบบทางศิลปะ เพื่อสร้างสรรค์งาน 2 มิติและ 3 มิติ
3.3.2 ประเมินผลจากคะแนนเก็บตลอดทุกสัปดาห์
3.3.3 วัดผลและให้คะแนนจากการวิจารณ์ผลงานของเพื่อนในกลุ่ม social media
4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2.1 สอดแทรกเรื่องเกี่ยวกับการทำงานร่วมกัน การมีมารยาทในสังคม ยอมรับข้อคิดเห็นและเคารพสิทธิของเพื่อนภายในกลุ่ม
4.2.2 มอบหมายงานและจัดกิจกรรมให้มีการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน
4.3.2 วัดผลจากผลงานที่นำเสนอในแต่ละครั้ง
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2.1 ฝึกปฏิบัติงานในแต่ละสัปดาห์ โดยสอดแทรกเทคโนโลยีในการออกแบบงาน และเปิดโอกาสให้น.ศ.สามารถค้นคว้างานด้วยเทคโนโลยีได้
    5.3.1 ประเมินได้จากงานที่ได้มอบหมายในแต่ละสัปดาห์ และเทคนิคการนำเสนองาน
6.1.1 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
6.2.1 อธิบายงานและเนื้อหาที่ทำการสอนในแต่ละสัปดาห์
6.2.2 มอบหมายงานให้ออกแบบ โดยกำหนดหัวข้องานในแต่ละสัปดาห์อย่างชัดเจน
6.3.1 ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย 1. คุณธรรมและจริยธรรม 2. ความรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BARCC403 ออกแบบทัศนศิลป์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม - การเข้าชั้นเรียน - การส่งงานตรงต่อเวลา ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ด้านความรู้ - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 9, 18 15%, 15%
3 ด้านทักษะทางปัญญา - ปฏิบัติงานในแต่ละสัปดาห์ - การนำเสนอผลงาน และวิเคราะห์ผลงาน - การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ - จัดกลุ่มมอบหมายงาน ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - การมอบหมายงานในการค้นคว้า ด้วยเทคโนโลยี - หารใช้เทคนิคในการช่วย ตลอดภาคการศึกษา 5%
6 ทักษะพิสัย - การนำเสนองานปฏิบัติที่ได้รับมอบหมาย 17 15%
องค์ประกอบศิลป์ของ ชะลูด นิ่มเสมอ
ออกแบบเบื้องต้น BASIC DESIGN ของ นพวรรณ หมั้นทรัพย์
ความเข้าใจในศิลปะของ วิรัตน์ พิชญไพบูลย์
พจนานุกรมศัพท์ศิลป อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
ความรู้ทั่วไปของศิลปของ โชดก เก่งเขตกิจ
ออกแบบลวดลาย ORNAMENT DESIGN  ของสิทธิศักดิ์  ธัญศรีสวัสดิกุ
-
เว็บไซด์ที่เกี่ยวกับงานศิลปะ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.3 การสร้างโจทย์ใหม่ๆในแต่ละหัวข้อการศึกษาให้นักศึกษา เพื่อให้นักศึกษาเกิดความน่าสนใจ สนุกสนาน และท้าทายการพัฒนาทักษะของตนเอง
3.4 จากการบรรยายด้วยระบบออนไลน์ สิ่งที่พบคือความสนใจต่อการฟังบรรยายของนักศึกษาลดลงเนื่องจากนักศึกษาไม่ยอมเปิดกล้องเพื่อให้เห็นปฎิกริยาต่างๆ ดังนั้นจึงต้องให้นักศึกษาทุกคนบังคับเปิดกล้องเพื่อให้เห็นปฎิกริยาต่างๆ และพยายามให้นักศึกษาฝึกการถาม การแสดงออกด้วยระบบการเรียนแบบออนไลน์
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชา หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ