ชีววิทยา

Biology

1.1รู้พื้นฐานของสิ่งมีชีวิตและโครงสร้างของสิ่งมีชีวิต
1.2 เข้าใจและปฏิบัติเกี่ยวกับเซลล์
1.3 เข้าใจและปฏิบัติเรื่องเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต
1.4 เข้าใจและปฏิบัติเรื่องสรีรวิทยาขั้นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
1.5 เข้าใจและปฏิบัติระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ
เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจด้านชีววิทยาเป็นพื้นฐานและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพและชีวิตประจำวัน
 
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับเซลล์ เนื้อเยื่อ โครงสร้างของสิ่งมีชีวิต สรีรวิทยาขั้นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต อนุกรมวิธานของสิ่งมีชีวิต นิเวศวิทยาและความหลากหลายทางชีวภาพ
3.1 วันอังคาร เวลา 9.00 – 12.00 น. สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีการเกษตร โทร 0897014545
3.2  E-mail: knuttira069@gmail.com  ทุกวัน
1.1   มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2   มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3   มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4   เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีที่สามารถพบเห็นได้ในชีวิตประจำวัน
2. ปลูกฝังจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3.  ผู้สอนปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างที่ดีในเรื่องการตรงต่อเวลา ฝึกระเบียบวินัยให้นักศึกษาเข้าชั้นเรียน ตรงต่อเวลา การส่งงานให้ตรงกำหนดเวลาตลอดจนระเบียบวินัยในการแต่งกาย
4.จัดกิจกรรมให้นักศึกษามีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนา
1.ประเมินจากการสังเกตการทำข้อสอบของนักศึกษาและปริมาณการทุจริตในห้องสอบ   
2.ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาระหว่างในชั้นเรียน
3.ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายของนักศึกษา
4.ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่
ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่
ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
 
1.บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีที่สามารถพบเห็นได้ในชีวิตประจำวัน โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
2.มอบหมายงานให้นักศึกษาแต่ละคน  ได้ทำการวิเคราะห์  สรุปเนื้อหา  และทำแบบฝึกหัด   เพื่อให้มีการฝึกฝนการแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง
3.มอบหมายงานให้นักศึกษาทำงานกลุ่ม โดยให้ทำการค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมเนื้อหาที่ได้เรียน   เพื่อให้สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขเมื่อพบข้อขัดแย้งจากการทำงานร่วมกัน
1.ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2. ใบงานของแต่ละสัปดาห์
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. ฝึกฝนในห้องเรียนหลังการบรรยาย และมอบหมายงานให้นักศึกษาแต่ละคน  
2.ฝึกฝนให้นักศึกษาทำงานกลุ่มในหัวข้อที่กำหนด ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา (Problem based instruction)
3.บรรยายยกตัวอย่าง การประยุกต์ใข้ความรู้ทางชีววิทยา
1. ประเมินจากการบ้านในห้องเรียนและนอกห้องเรียน
2. ประเมินจากรายงานการปฏิบัติงาน
3. การนำเสนอหน้าชั้นเรียนและการร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นร่วมกันในห้องเรียน
4.1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้ประสิทธิภาพ
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. ให้คำแนะนำในการเข้าร่วมกิจกรรมสโมสร กิจกรรมมหาวิทยาลัยเพื่อส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคม
2. กำหนดการทำงานกลุ่มโดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่มและผลัดกันเป็นผู้รายงาน
3. ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันเพื่อความสำเร็จในงานกลุ่ม ตลอดจนใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น (Brain storming) เพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยเหตุผล
4.ส่งเสริมการใช้ความรู้ในรายวิชาที่เรียนเพื่อประยุกต์ใช้ในการช่วยเหลือสังคม
1. สังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
2. ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา ในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน โดยประเมินจากอาจารย์ผู้สอนและเพื่อนร่วมชั้นเรียน
3. ประเมินและติดตามผลการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล
4. สังเกตจากพฤติกรรมขณะนักศึกษาร่วมกิจกรรมในการช่วยเหลือสังคม
5.1สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
1. แนะแนววิธีการในการเลือกใช้สื่อหรือเครื่องมือในการสืบค้นข้อมูลที่เหมาะสมและเทคนิคในการนำเสนอข้อมูล
2. มอบหมายงานให้นักศึกษามีโอกาสค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ และให้นักศึกษา
3. มอบหมายงานให้นักศึกษาเขียนรายงาน รู้จักการใช้ภาษาไทยตลอดจนสามารถเขียนเรียบเรียงได้อย่างเหมาะสม
1. ประเมินจากกิจกรรมต่าง ๆ ที่มีการนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2. ประเมินจากผลงานหรือรายงานที่นักศึกษาได้รับมอบหมาย ประเมินจากทักษะ การรายงานหน้าชั้นเรียน
3. ประเมินจากรายงาน การเรียบเรียง ความสามารถในการใช้ภาษาในรูปแบบของภาษาเขียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 4 1 2 3 1 2 3
1 BSCCC112 ชีววิทยา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3, 1.1.4, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.4 ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษา ทุกสัปดาห์ 10%
2 2.1.2, 2.1.3, 3.1.2, 4.1.3 ประเมินจากผลจากใบงานและงานที่รับมอบหมาย ทุกสัปดาห์ 30 %
3 2.1.1 ประเมินจากการทดสอบย่อย 3, 4, 5 10 %
4 2.1.1 ประเมินจากการสอบกลางภาคและปลายภาค 8, 17 50%
1.   กฤษณ์ มงคลปัญญา และอัมรา ทองปาน. 2542. ชีววิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 4.
             สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 352 น.

จิรัสย์ เจนพาณิชย์.2552. Biology for high school students. พิมพ์ครั้งที่ 13.

              สำนักพิมพ์บูมคัลเลอร์ไลน์, กรุงเทพฯ. 320 น.

เชาวน์ ชิโนลักษณ์ และพรรณี ชิโนลักษณ์. 2540. ชีววิทยา 1. พิมพ์ครั้งที่ 5.

              สำนักพิมพ์ศิลปาบรรณาการ, กรุงเทพฯ. 845 น.

เชาวน์ ชิโนลักษณ์ และพรรณี ชิโนลักษณ์. 2540. ชีววิทยา 2. พิมพ์ครั้งที่ 5.

         สำนักพิมพ์ศิลปาบรรณาการ, กรุงเทพฯ. 845 น.
5.   เชาวน์ ชิโนลักษณ์ และพรรณี ชิโนลักษณ์. 2540. ชีววิทยา 3. พิมพ์ครั้งที่ 5.
                   สำนักพิมพ์ศิลปาบรรณาการ, กรุงเทพฯ. 845 น.
      6.   ทบวงมหาวิทยาลัย. 2530. ชีววิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 4. โรงพิมพ์ชวนพิมพ์, กรุงเทพ ฯ. 853 น.
      7.   นิตยา เลาหะจินดา. 2549. นิเวศวิทยา: พื้นฐานสิ่งแวดล้อมศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2.
                   มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพ ฯ. 292 น.
8.  ประดิษฐ์ พงศ์ทองคำ. 2543. พันธุศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
                   เกษตรศาสตร์, กรุงเทพ ฯ. 398 น.

ปรีชา สุวรรณพินิจ และนงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. 2542. ชีววิทยา2. พิมพ์ครั้งที่ 3.

         จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพ ฯ. 1276 น.

ปรีชา สุวรรณพินิจ และนงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. 2543. ชีววิทยา1. พิมพ์ครั้งที่ 4.

         จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพ ฯ. 444 น.
     12. Campbell, Neil A. and Reece, Jane B. 2002. Biology. 6th ed. Pearson Education,
                    Inc., San Fancisco. 1247 p.
 
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชาชีววิทยา เช่น วิกิพีเดีย (Wikipedia)
นักศึกษาประเมินผู้สอนโดยกรอกข้อมูลประเมินแบบออนไลน์ สอบถามระหว่างการสอนในชั้นเรียน
อาจารย์พี่เลี้ยง ประเมินโดยการนิเทศการสอน อาจารย์ผู้สอนร่วมในรายวิชา ประเมินโดยการประชุมร่วม หัวหน้าสาขา/หลักสูตร/อาจารย์ประจำหลักสูตร ประเมินโดยการประชุมร่วม หัวหน้าสาขา ประเมินโดยการประชุมร่วม
นำผลการประเมินจากนักศึกษา ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการสอน ผลการ

ประชุมร่วมมาทบทวน
2.  ค้นคว้าหาวิธีการสอนใหม่
3. วิจัยในชั้นเรียน
4.1บันทึกหลังสอนรายคาบ
4.2  ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม
4.3 การแจ้งคะแนนให้นักศึกษาทราบเป็นระยะ
4.4 การออกข้อสอบร่วม
บันทึกหลังสอนรายคาบ ประชุมผู้สอนร่วม ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม

4.ข้อเสนอแนะของสถานประกอบการที่เชิญมาเป็นกรรมการคณะและวิทยากรบรรยายพิเศษ