แมลงศัตรูพืชและการควบคุม

Plant Insect Pests and Their Controls

1.1 บอกกายวิภาคภายนอกและการเจริญเติบโตของแมลง (2.1)
1.2 บอกอันดับของแมลงศัตรูพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจ (2.1, 2.2)
1.3 มีทักษะการเก็บรักษาและจำแนกตัวอย่างแมลงศัตรูพืชในท้องถิ่น (2.1, 2.2, 4.1)
1.4 อธิบายหลักการและวิธีการควบคุมแมลงศัตรูพืช (2.1)
1.5 รู้จักการค้นคว้าความรู้และเทคโนโลยีใหม่ในการควบคุมแมลงศัตรูพืช (3.2)
1.6 รู้จักการผลิตพืชที่ปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ (2.2)
1.5 วางแผน ออกแบบควบคุมแมลงศัตรูพืชที่เหมาะสมกับสภาพการผลิต (2.2)
1.6 มีค่านิยมที่ดีในการจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ (1.2)
1.8 มีทักษะการสืบค้น ใช้ข้อมูลสารสนเทศ ทักษะการฟัง จิตสำนักสาธารณะ การสรุปและวิเคราะห์ข้อมูล เขียนรายงานและนำเสนอ (5.2, 5.2)
- เพื่อให้นักศึกษามีทักษะวิชาชีพการจัดการศัตรูพืช รู้จักหลักและวิธีการควบคุมแมลงศัตรูพืชด้วยวิธีการที่ทันสมัย โดยใช้แนวคิดบูรณาการ
- เพื่อปรับปรุงวิธีการสอน กิจกรรมในชั้นเรียนให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 
ความสาคัญของแมลงศัตรูพืช กายวิภาคการเจริญเติบโตและการถอดรูปของแมลง การจำแนกอันดับของแมลงแมลงศัตรูพืชที่สาคัญทางเศรษฐกิจ รวมทั้งหลักการควบคุมแมลงศัตรูพืชด้วยวิธีการต่างๆ
- ตามตารางกำหนดเวลาของอาจารย์ผู้สอนในแต่ละภาคการศึกษา
โทรศัพท์ 0615062352 email: Supakorn.wsk1992@gmail.com
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
- จัดเก็บสื่อการสอนบน Microsoft Team
มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.    บรรยายแนวคิดแมลงในระบบนิเวศ และหลักการการผลิตที่ปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อมและผู้บริโภค
2.    แนวปฏิบัติของเกษตรกรที่ดี ที่มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม ละสิ่งแวดล้อม
อภิปรายกลุ่มการวิเคราะห์ศัตรูพืชเศรษฐกิจ ปัจจัยการระบาด และรูปแบบการควบคุมศัตรูพืช
การเข้าเรียน การตรงต่อเวลา ความเข้าใจในหลักการผลิตพืชปลอดภัย การแสดงหลักการและเหตุผลในการอภิปราย
2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่าง ถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องวิธีการสอน
1. บรรยายและอภิปรายกลุ่มย่อยหลักและทฤษฎีแมลงศัตรูพืชและการควบคุม
2. บรรยายลักษณะทั่วไปของแมลง อวัยวะภายนอกที่สำคัญ การเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ตัวอ่อน ดักแด้ ลักษณะอนุกรมวิธาน อันดับของแมลง
3. บรรยาย อภิปรายกลุ่มวิธีการควบคุมแมลงศัตรูพืช
4. กรณีตัวอย่างการควบคุมศัตรูพืชของเกษตรกร
5. ให้นักศึกษาค้นข้อมูลศัตรูพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค ระดับชาติ และระดับนานาชาติจากเอกสาร ข่าวสาร หรือแหล่งข้อมูลอื่นๆ
6. ให้ นศ. ส่งตัวอย่างแมลงศัตรูพืช
1.    การประเมินสรุปผลการเรียนรู้ (Summative Assessment) มักเกิดขึ้นเมื่อจบหน่วยการเรียนรู้เพื่อตรวจสอบผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามตัวชี้วัด
การประเมินผลย่อย (Formative Assessment) เป็นการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (assessment for learning) ที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดการเรียนการสอน
3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นามาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
1. ให้ นศ. สำรวจแมลงศัตรูพืชในสภาพแปลงพืชเศรษฐกิจท้องถิ่น ได้แก่ พืชไร่ พืชสวน พืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ
2. ให้ นศ. ส่งตัวอย่างแมลงศัตรูพืช
การมอบให้นักศึกษาค้นคว้าเทคโนโลยีใหม่ในการควบคุมแมลงศัตรูพืช วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
1. การประเมินสรุปผลการเรียนรู้ (Summative Assessment) มักเกิดขึ้นเมื่อจบหน่วยการเรียนรู้เพื่อตรวจสอบผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามตัวชี้วัด
2. การประเมินผลย่อย (Formative Assessment) เป็นการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (assessment for learning) ที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดการเรียนการสอน
4.2 มีจิตอาสาและสานึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสานึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทาประโยชน์ให้สังคม
วิธีการสอนโดยใช้การอภิปรายกลุ่มย่อย วิธีการสอนโดยให้นักศึกษาสำรวจแมลงศัตรูพืชในสภาพแปลง

การมอบให้นักศึกษาส่งตัวอย่างแมลง ค้นคว้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
การประเมินผลย่อย (Formative Assessment) เป็นการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (assessment for learning) ที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดการเรียนการสอน
5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วิธีการสอนโดยใช้การทดลองการสำรวจและประเมินประชากรศัตรูพืช วิธีการสอนโดยใช้การทดลองปฏิบัติการจำแนก นับประชากรศัตรูพืชและประเมินความหนาแน่น ให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากวารสารทางวิชาการ แหล่งข้อมูลอื่นที่เชื่อถือได้

การนำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
การประเมินผลย่อย (Formative Assessment) เป็นการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (assessment for learning) ที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดการเรียนการสอน
มีทักษะทางวิชาชีพ หมายถึง มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ
การจัดหมวดหมู่แมลงจากลักษณะภายนอก การเก็บตัวอย่างแมลงศัตรูพืชจากแปลงพืชเศรษฐกิจในชุมชน การจัดตัวอย่างเพื่อการจำแนก การสุ่มตัวอย่างแมลง
การประเมินผลย่อย (Formative Assessment) เป็นการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (assessment for learning) ที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดการเรียนการสอน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2
1 BSCAG111 แมลงศัตรูพืชและการควบคุม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่าง ถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องวิธีการสอน 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นามาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8, 17 20%
2 1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่าง ถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องวิธีการสอน 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นามาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ 4.2 มีจิตอาสาและสานึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสานึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทาประโยชน์ให้สังคม มีทักษะทางวิชาชีพ หมายถึง มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย อภิปรายกลุ่ม ตัวอย่างแมลง ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่าง ถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องวิธีการสอน 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นามาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ 4.2 มีจิตอาสาและสานึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสานึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทาประโยชน์ให้สังคม 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20%
1. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ (PLANT DISEASES AN D INSECT PESTS)
ผู้แต่ง : พิสุทธิ์ เอกอำนวย Barcode : 786169276722 ISBN : 9786169276722 พิมพ์ครั้งที่ : 7
2. กีฏวิทยาแม่บท ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผู้แต่ง : รศ.ดร.ศานิต รัตนภุมมะ พิมพ์ครั้งที่ : 3
วารสารวิชาการในประเทศและต่างประเทศ
วารสารวิชาการในประเทศและต่างประเทศ
1.1        การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2        แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3    ข้อเสนอแนะผ่านช่องทางสื่อออนไลน์ที่ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
 
2.1   การสังเกตการณ์พฤติกรรมในห้องเรียนของผู้เรียน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือจากเกษตรกร