การเขียนโปรแกรมสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่

Mobile Devices Programming

 
๑.๑ เข้าใจหลักการ เทคนิค เทคโนโลยีในระบบเคลื่อนที่
๑.๒ เข้าใจการประยุกต์ใช้การสื่อสารในระบบเคลื่อนที่
๑.๓ เข้าใจมาตรฐานและแนวโน้มของเทคโนโลยีระบบเคลื่อนที่
๑.๔ สามารถพัฒนาซอฟต์แวร์สำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ได้
รายวิชานี้พัฒนาขึ้นเพื่อให้นักศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ได้มีความรู้เรื่องเทคโนโลยีในระบบเคลื่อนที่ และทักษะในการพัฒนาซอฟต์แวร์สำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ศึกษาและฝึกปฏิบัติ เกี่ยวกับการเขียนภาษาที่ใช้พัฒนาโปรแกรมสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ การบริหารหน่วยความจำและส่วนบันทึกข้อมูล การเชื่อมต่อฐานข้อมูล เครื่องมือและการออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ การสื่อสารกับระบบภายนอก  การเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Study and practice on programming language to develop software for mobile device. Memory and storage management, database connection, tools and user interface design. Interaction with external system and communication network.
๑.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
 ๑.๑ มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
 ๑.๒ มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜ ๑.๓ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
 ๑.๔ เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
๑. กำหนดให้นักศึกษาเข้าเรียนและส่งงานต่างๆที่มอบหมายให้ตรงตามเวลาที่กำหนด
๒. กำหนดให้นักศึกษาจัดทำรายงานและโครงงาน โดยให้ทำเป็นกลุ่ม
๓. เน้นให้นักศึกษาทำงานที่มอบหมายด้วยตนเอง และไม่นำผลงานของคนอื่นมาแอบอ้างเป็นของตนเองเพื่อส่งผู้สอน
๑. ประเมินความตรงต่อเวลาในการเข้าเรียนและส่งงานต่างๆ ของนักศึกษา
๒. ประเมินจากการอ้างอิงข้อมูลที่ใช้ประกอบการทำรายงานและโครงงาน
๓. ประเมินจากงานต่างๆ ที่นักศึกษาส่ง
๒.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
˜ ๒.๑ มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š ๒.๒ สามารถติดตามความ
ก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
๑. บรรยาย พร้อมยกตัวอย่าง และฝึกปฏิบัติ
๒. กำหนดให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด ซึ่งต้องมีการค้นคว้าเพิ่มเติม
๓. กำหนดให้นักศึกษาจัดทำโครงงาน
๑. สอบข้อเขียน
๒. สอบปฏิบัติ
๓. ประเมินผลโครงงาน
๓.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
˜ ๓.๑ มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
 ๓.๒ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
๑. บรรยาย พร้อมยกตัวอย่างและฝึกปฏิบัติการพัฒนาซอฟต์แวร์สำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
๒. กำหนดให้นักศึกษาจัดทำโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์สำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
๑. ประเมินจากการทำแบบฝึกหัดและแบบฝึกปฏิบัติ
๒. ประเมินผลโครงงาน
๔.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
˜ ๔.๑  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
˜ ๔.๒  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜ ๔.๓ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜ ๔.๔มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
๑. กำหนดให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด และแบบฝึกปฏิบัติ
๒. กำหนดให้นักศึกษาจัดทำรายงานและโครงงาน ทั้งแบบเดี่ยวและแบบกลุ่ม
๑. ประเมินจากการส่งแบบฝึกหัด รายงาน และแบบฝึกปฏิบัติ
๒. ประเมินผลรายงานและโครงงาน
๕.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication and Information Technology Skills)
™ ๕.๑ สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜๕.๒ สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜๕.๓ สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
.บรรยาย สาธิต และฝึกปฏิบัติการพัฒนาซอฟต์แวร์สำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
๒. ใช้  Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
๓. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
๔. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
๕.การนำเสนองานด้วยวิธีวาจา
๑. ประเมินผลการทำแบบฝึกปฏิบัติให้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
๒. การสอบปฏิบัติ
๖. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill)
˜ ๖.๑ สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
™ ๖.๒สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
™ ๖.๓สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
๑.บรรยาย สาธิต และฝึกปฏิบัติการพัฒนาซอฟต์แวร์สำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
๑. ประเมินผลการทำแบบฝึกปฏิบัติให้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
๒. การสอบปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ๑.คุณธรรมจริยธรรม ๒.ความรู้ ๓.ทักษะทางปัญญา ๔.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ ๕.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๖.ด้านทักษะปฏิบัติ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BSCCS307 การเขียนโปรแกรมสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3,2.1,3.1,4.1,4.2,4.3,4.4 สอบกลางภาค 1-8 30%
2 5.1,2.1,3.1,4.4 ประเมินจากการสังเกตุและผลงานที่มอบหมาย 10-16 30%
3 5.1,2.1,3.1 สอบปลายภาค/ภาคปฏิบัติ 10-16 30%
4 1.1,2.1 ประเมินจากบันทึกการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา 1-16 5%
5 6.1 การนำเสนอผลงาน 11-16 5%
ปกรณ์ สุนทรเมธ เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการโปรแกรมสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
๑.ศุภชัย สมพานิช.Basic Android Programing. กรุงเทพฯ : ไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด, ๒๕๕๕.
๒.ดร.จักรชัย โสอินทร์.Basic Android App Development.กรุงเทพฯ : ไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด,
เว็ยไซต์ แนะนำเฟรมเวิร์คการพัฒนาแอปพลิเคชันบนอุปกรณ์เคลืีอนที่
1. http://reactnative.com/react-native-v0-59-x-released/
2. https://facebook.github.io/react-native/docs/getting-started
 
 
จัดกิจกรรมในการรวบรวมความคิดเห็นของนักศึกษาเกี่ยวกับประสิทธิผลของรายวิชาดังนี้
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- จัดตั้งกลุ่มในเครือข่ายสังคมออนไลน์สำหรับผู้สอนและผู้เรียนในรายวิชา
การประเมินการสอนโดย
- การสังเกตการสอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
ติดตามและนำเทคโนโลยีใหม่มรประกอบดารสอนอย่างต่อเนื้อง
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการพิจารณาผลการทดสอบย่อย และแบบฝึกหัดของนักศึกษา และหลังจบภาคการศึกษามีการพิจารณาผลการเรียนของนักศึกษาในรายวิชานี้
 
นำผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา ผลการประเมินการสอน และการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา มาใช้ในการปรับปรุงเนื้อหา แผนการสอน และวิธีการสอนของ
รายวิชานี้ ในภาคเรียนต่อไป