การวัดและการควบคุมสมัยใหม่ในงานวิศวกรรมเครื่องกล

Modern Measurement and Control in Mechanical Engineering

1.1 เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาและปฏิบัติปริมาณทางกล ด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้าให้นักศึกษารู้และเข้าใจ เครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน 1.2 เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาและปฏิบัติระยะกระจัด ความเครียด ความเร่ง อุณหภูมิ และอัตราการ ไหล 1.3เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาและปฏิบัติ เทคนิคการบันทึกแจกแจงและปรับข้อมูลการรวบรวมจาก ส่วนกลาง เพื่อผลทางการติดตาม 1.4 เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาและปฏิบัติการควบคุมกระบวนการผลิต
ไม่มี
ศึกษาและปฎิบัติเกี่ยวกับพื้นฐานวงจรอิเล็กทรอนิกส์ การขับกระแสและแรงดันไฟฟ้า การควบคุมกระแสและแรงดันไฟฟ้า การควบคุมกระแสและแรงดันไฟฟ้า การวัดและเครื่องมือวัด ตัวรับรู้ การสอบเทียบ การวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนโปรแกรมเพื่อสื่อสารระหว่างตัวรับรู้กับ คอมพิวเตอร์สำหรับแสดงผลและควบคุม การสื่อสารไร้สาย การเชื่อมข้อมูลสู่โลกอินเตอร์เน็ตรวมทั้งการใช้ปัญญาประดิษฐ์เข้าช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล
1 ชั่วโมง
1.1.1 มีวินัยตรงต่อเวลา รับผดิชอบต่อตนเองและสังคมเคารพกฎระเบียบและข้อขังคับต่างๆ มหาวทิยาลยัฯ 1.1.2 สามารถประเมินผลกระทบจากการใชัความรู้ทางวศิวกรรมต่อบุคคล  สังคม และสิ่งแวดล้อม
 
1.2.1   ปลูกฝังใหันักศึกษามีระเบียบวินัยปฏิติตามกฎกติกาที่กำหนดหรือได้ตกลงกันไว้และ ปลูกฝังให้มีความรับผดิชอบ โดยเริ่มตั้งแต่การเข้าชั้นเรียนให้ตรงต่อเวลา  การส่งงานตามกำหนดเวลา ตลอดจน การแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวทิยาลยัฯ                  1.2.2  ปลูกฝังเรื่องจรรยาบรรณทางวชิาชีพ   ความรับผดิชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ ตลอดจนผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อ บุคคล  สังคม และสิ่งแวดล้อม หากกระทำการโดยขาดจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1.3.1   การขานชื่อการใหค้ะแนนการเข้าชั้นเรียน  และการส่งงานตามกำหนดระยะเวลา 1.3.2   สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง 1.3.3   ความรับผดิชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 1.3.4  การกระทำทุจริตในการสอบ
2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจในทางคณิตศาสตร์พื้นฐานวิทยาศาสตร์พื้นฐาน และวศิวกรรมพื้นฐาน เพื่อประยุกต์ใช้กับการศึกษาของรายวิชาทางวศิวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง 2.1.2  มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญเชิงทฤษฎีในเนื้อหาของรายวิชาสถิตศาสตร์ 2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวชิา วิศวกรรมเครื่องกล กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ  ที่เกี่ยวข้อง 2.1.4  สามารถวิเคราะห์ปัญหา และใช้ความรู้และทักษะที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชาสถิตศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาในงานจริงได้
2.2.1  บรรยายโดยเขียนบนกระดานประกอบกับการอ้างอิงในหนงัสือใช้สื่อการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ตลอดจนสื่อการสอนที่เป็นชิ้นงานจริง      2.2.2   มอบหมายแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
2.3.1  การทดสอบย่อยสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 2.3.2  ประเมินจากแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
3.1.1 สามารถคิดวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาเพื่อใช้ในการ แก้ไขปัญหา ทางด้านวิศกรรมเครื่องกลได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.1.2  มีจินตนาการในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวตักรรมหรือ ต่อยอดองคค์วามรู้จากเดิมไดอ้ย่างสร้างสรรค์ 3.1.3  สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อหาความรู้เพิ่มเติมและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองคค์วามรู้ใหม่ๆ
3.2.1  กรณีศึกษาทางการประยกุตส์าขาวชิาวศิวกรรมเครื่องกล 3.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าจัดทำ รายงานทางเอกสารและนา เสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
3.3.1 การทดสอบย่อยสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 3.3.2 ประเมินจากรายงานที่ไดร้ับมอบหมาย  และการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรีย
4.1.1 สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลในการ สื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่ เหมาะสม 4.1.2 สามารถวางแผนและรับผดิชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทาง วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 4.1.3 รู้จกัหน้ำที่และความรับผดิชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม 
4.2.1  ปลูกฝังให้มีความรับผดิชอบต่อหน้าที่ที่ไดร้ับมอบหมาย  4.2.2  ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออก โดยการถามคำถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน และการนำเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า  4.2.3 ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น  เพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยเหตุผล
4.3.1  ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะพร้อมบันพฤติกรรมเป็นรายบุคคล   4.3.2  ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน 4.3.3  ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น และการตอบคำถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศโดยมอบหมายงานให้การศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็ปไซด์สื่อการสอน E- Learningและส่งเสริมการค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
5.2.1 มอบหมายงานให้การศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็ปไซด์สื่อการสอน E- Learning 5.2.2  ส่งเสริมการค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.1 การทดสอบย่อยสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 5.3.2 ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสรรสนเทศที่เหมาะสม 5.3.3  ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัดเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
นักศึกษาสามารถการศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็ปไซด์สื่อการสอน E- Learningและสามารถค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
6.2.1 สามารถการศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็ปไซด์สื่อการสอน E- Learning 6.2.2  สามารถค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
6.3.1 สามารถการทดสอบย่อยสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 6.3.2 สามารถนำเสนอโดยการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสรรสนเทศที่เหมาะสม 6.3.3  สามารถอธิบายถึงข้อจำกัดเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1. การวัดและเครื่องไฟฟ้า. รศ.ดร. เอก  ไชสวัสดิ์ ISBN 974-8324-45-1
2. Electronic Instrumentation and Measurement David A. Bell 1930 ISBN 0-13-249954-1
3. Instrumentation for Engineering Measurements. JAMES W.DALLY, WILLIAM F.RILEY KENNETH G. McCONNELL 1993 ISBN 0-471-55192-9
4. Modem Electronic Instrumentation and Measurement Techniques , ALBERT D. HELFRICK
5. Theory and Design for Mechanical Measurements. RICHARD S. FIGLIOLA, DONALD E. BEASLEY. 1991
5. Modem Electronic Instrumentation and Measurement Techniques , ALBERT D. HELFRICK WILLIAM D. COOPER. 1990 ISBN 0-13-593385-4
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
      1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
      1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
      1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทาเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
     2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
    2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
    2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
     3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
    3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
      4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร
     4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
      5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
      5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ