ภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมล้านนา

Lanna Wisdom and Culture

1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมล้านนาประเภทต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง
     1.2 เพื่อให้นักศึกษาอธิบายภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมล้านนาได้อย่างถูกต้อง
     1.3 เพื่อให้นักศึกษาจำแนกภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมล้านนาได้อย่างถูกต้อง
     1.4 เพื่อให้นักศึกษาวิเคราะห์ลักษณะภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมล้านนาได้อย่างถูกต้อง
     1.5 เพื่อให้นักศึกษานำเสนอข้อมูลเชิงวิเคราะห์ภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมล้านนา
     1.6 เพื่อให้นักศึกษามีทัศนคติและเห็นคุณค่าของภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมล้านนา
 
เพื่อให้มีความสอดคล้องกับตัวผู้เรียนและให้เนื้อหามีความสอดคล้องกับวิชาชีพเฉพาะสาขา ในการเรียนออนไลน์สามารถนำไปสู่กระบวนการคิดเชิงวิเคราะห์ เพื่อต่อยอด ประยุกต์ใช้ในการเรียนวิชาอื่นได้อย่างเหมาะสม ผ่านระบบ Ms Teams
           ศึกษาและฝึกปฏิบัติในเชิงวิเคราะห์ศิลปวัฒนธรรมล้านนาที่เกี่ยวข้องกับวิถีการดำเนินชีวิตของคนพื้นถิ่น ในบริบททางวัฒนธรรม ประเพณี และความเชื่อ ต้นแบบและคุณค่างานหัตถกรรม การแต่งกาย หัตถศิลป์ การละเล่น ศาสนา งานช่างฝีมือของชุมชน
             A study and practice in analyzing lanna art and culture related to the way of life of the local people in context of culture, traditions and beliefs. Learn about prototyping and values of handicraft , traditional dress , crafts , play , religion , and community crafts.
 
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) ผ่านระบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์
2.1.1.1   มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
            2.1.1.2   มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
            2.1.1.4   เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1) บรรยายให้นักศึกษาเห็นความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานที่ได้รับมอบหมายผ่านระบบออนไลน์ ms teams ภายในเวลาที่กำหนด
         2) บรรยายเนื้อหาที่สอนแล้วเชื่อมโยงให้นักศึกษาได้มีโอกาสช่วยเหลืองานส่วนรวมของสาขาวิชาและคณะ ผ่านระบบออนไลน์ ms teams
          มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ ดังวิธีการสอนคือ
            อธิบายยกตัวอย่าง แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักศึกษา และสร้างความตระหนักเรื่องการให้ความสำคัญในการอ้างอิงข้อมูลด้วยรูปแบบต่างๆ และการไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น
          เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ดังวิธีการสอนคือ
            อธิบายความสำคัญของบุคคลที่เป็นปราชญ์ชาวบ้านหรือผู้ทรงภูมิปัญญาท้องถิ่นล้านนา เพื่อยกย่องและเชิดชูเกียรติตามโอกาสและเวลา
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม ประเมินผลโดย
        1) สังเกตพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา โดยตรวจสอบจากระบบออนไลน์ ms teams
        2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยแบบทดสอบกลางภาคและปลายภาคผ่านระบบออนไลน์ ms teams
        3) สังเกตพฤติกรรมในการช่วยเหลืองานส่วนรวมของสาขาวิชาและคณะ
          มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ ประเมินผลโดย
            สังเกตจากระบบการอ้างอิงที่อยู่ในงานปฏิบัติของนักศึกษาและการพูดคุยด้วยวาจา
          เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ประเมินผลโดย
            สังเกตจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักศึกษา ที่ต้องมีการกล่าวถึงคุณค่าและความสำคัญของงานภูมิปัญญาท้องถิ่นและผู้ทรงภูมิปัญญาของท้องถิ่นล้านนา
2.2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และให้คำปรึกษาด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ผลงานแก่ผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
1)  บรรยายเนื้อหาภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมล้านนา แล้วเชื่อมโยงกับการบริการวิชาการแก่บุคคลต่างๆ เช่น นักศึกษาปริญญาตรี ผู้ประกอบการ ผ่านระบบออนไลน์ ms teams
          2)  บรรยายเนื้อหาภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมล้านนา เพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นในหลักสูตร ผ่านระบบออนไลน์ ms teams
1) ผลสรุปงานของนักศึกษาจากการที่ได้มีโอกาสได้ช่วยเหลือทางด้านวิชาการออกแบบสร้างสรรค์ แก่บุคคลต่างๆ
          2) ข้อสอบกลางภาค และปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวิเคราะห์  แสดงความคิดเห็น
          3) การอภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับความสำคัญของภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมล้านนา ที่สามารถประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นได้อย่างเหมาะสม
 
2.3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติงานจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
1) บรรยายพร้อมตั้งคำถามในเชิงวิเคราะห์เกี่ยวกับงานภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมล้านนาผ่านระบบออนไลน์ ms team
          2) บรรยายเนื้อหาเกี่ยวกับงานศึกษาค้นคว้า และอภิปรายร่วมกัน ผ่านระบบออนไลน์ ms team
1)  เก็บคะแนนจากผลงานศึกษาค้นคว้าที่เกิดจากการนำความรู้ด้านภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมล้านนา มาประยุกต์ใช้ในลักษณะต่างๆ
          2)  การสังเกตจากการอภิปราย / การนำเสนอ งานของนักศึกษา
2.4.1.1  มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
          2.4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสงคมในประเด็นที่เหมาะสม
มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี  มีวิธีการสอนคือ
          การอธิบาย / บรรยาย เกี่ยวกับ การอยู่ร่วมกันและการปฏิบัติตัวในสังคมของคณะและมหาวิทยาลัย เช่น การติดต่อประสานงาน การใช้บริการสารสนเทศรูปแบบต่างๆ ภายในคณะ
          สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสงคมในประเด็นที่เหมาะสม มีวิธีการสอนคือ
          1) บรรยายเนื้อหาเกี่ยวกับภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมล้านนาในชุมชนต่างๆ  แล้วมอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
          2) เรียนรู้จากประสบการณ์จริงจากชุมชนต่างๆ แล้วให้นักศึกษามีโอกาสไปให้ความรู้แก่ชุมชน ในลักษณะของการบริการวิชาการ
มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี  มีวิธีการประเมินผลคือ
          การพบปะ พูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักศึกษา ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการอยู่ร่วมกันและการปฏิบัติตัวในสังคมของคณะและมหาวิทยาลัย
          สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม มีวิธีการประเมินผลคือ
          1) ผลงานศึกษาค้นคว้าในเชิงวิเคราะห์ด้านภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมล้านนา
          2) ผลงานศึกษาค้นคว้า ภาพถ่าย ที่เป็นประสบการณ์จากการลงพื้นที่ในชุมชน
2.5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม มีวิธีการสอนคือ
          การบรรยาย ยกตัวอย่าง การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในงานภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมล้านนา
สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม มีวิธีการประเมินผลคือ
          การสังเกตพฤติกรรมในการเรียนและผลการศึกษาค้นคว้า ที่ใช้สื่อออนไลน์ต่างๆ ให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพสูงสุดในงานศึกษาค้นคว้าของตนเอง
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 MAAAC226 ภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมล้านนา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3 2.3 สอบกลางภาค และสอบปลายภาค สอบกลางภาค สัปดาห์ 9 สอบปลายภาค สัปดาห์ 17 สอบกลางภาค ร้อยละ 15 สอบปลายภาค ร้อยละ 15
2 3.1 - 3.3 4.1 – 4.3 5.1 - 5.3 3.1 - 3.3 1) งานปฏิบัติศึกษาค้นคว้า อภิปราย และวิเคราะห์ 4.1 – 4.3 1) การทำงานร่วมกับผู้อื่น 2) การมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคล 3) งานศึกษาค้นคว้าและการลงพื้นที่ช่วยเหลือชุมชน 5.1 - 5.3 1) การสังเกตพฤติกรรมในการเรียน 2) ผลการศึกษาค้นคว้า ที่ใช้สื่อออนไลน์ต่างๆ ให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพสูงสุด ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 60
3 1.1 – 1.3 1) การเข้าชั้นเรียน /ความรับผิดชอบ 2) พฤติกรรมการช่วยเหลืองานส่วนรวม 3) พฤติกรรมที่แสดงออกถึงการให้ความสำคัญของบุคคลต่างๆ 4) ผลงานศึกษาค้นคว้าที่มีการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
จิระชัย ยมเกิด. (2560). การพัฒนาศักยภาพงานหัตถกรรมเครื่องเขินวัฒนธรรมล้านนาเพื่อเสริมสร้าง
        มูลค่าสู่ตลาดผู้บริโภคเชื่อมโยงวัฒนธรรมสู่การท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านศรีปันครัว
        ตำบลท่าศาลา อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. รายงานการวิจัย (e-book). กระทรวงวัฒนธรรม.
        กรุงเทพ : มปพ.
ฐาปกรณ์ เครือระยา.(2560) .การศึกษาและรวบรวมลวดลายขูดโบราณของเครื่องเขินบ้านนันทาราม
        เพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูผลิตภัณฑ์เครื่องเขินจังหวัดเชียงใหม่. รายงานการวิจัย (e-book). 
        กระทรวงวัฒนธรรม.กรุงเทพฯ : มปพ.
ลิปิกร  มาแก้ว. (2563).ประเพณีและวัฒนธรรมล้านนา.เอกสารประกอบการสอน. เชียงใหม่ :
        เอกสารโรเนียว.
วรวิทย์  นิเทศศิลป์.(2560). การบูรณาการการเรียนการสอนด้วยวิธีการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น
        ล้านนา.รายงานการวิจัย (e-book). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต
        เชียงใหม่. เชียงใหม่ : มปพ.
วรีวรรณ เจริญรูป และคณะ .(2562). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้วยการสร้างคุณค่าและ
        มูลค่าเพิ่ม : กรณีศึกษาตุงล้านนา. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ .6(2)
        พฤษภาคม-สิงหาคม 2562. หน้า 315-330.
สุโขทัยธรรมาธิราช,มหาวิทยาลัย.(2551). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน. เอกสารการสอนชุดวิชา
        หน่วยที่ 1-8. พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เสวภา  ศักยพันธ์ และยุพยง วิจิตรศิลป์.(2538).อาหารพื้นบ้านภาคเหนือ.พิมพ์ครั้งที่ 2. เชียงใหม่ :
        โรงพิมพ์ดาว.
อมรรัตน์  อนันต์วราพงษ์ .(2560). หลักการวิจัยเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาไทย.
        พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อรอนงค์  ทองมี.(2558). วัฒนธรรมอาหารล้านนา : การพัฒนาเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์.วารสาร
        ศิลปกรรมศาสตร์วิชาการ วิจัย และงานสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. 2(1) มกราคม -มิถุนายน 2558 .หน้า 25-54.
2.1 วารสาร COMPASS
    2.2 หนังสือครูศิลป์ของแผ่นดิน ของศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (ศศป.)
    2.3 พิพิธภัณฑ์เมืองเชียงใหม่
    2.4 หอศิลป์วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    2.5 พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในพื้นที่ต่างๆ ของจังหวัดเชียงใหม่
    2.6 แหล่งเรียนรู้ในพื้นที่ต่างๆ ของจังหวัดเชียงใหม่
3.1 เอกสารวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นล้านนา
    3.2 เว็ปไซด์ที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมล้านนา
    3.3 พื้นที่หรือชุมชนที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น
           การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
    1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียนผ่านระบบออนไลน์ Ms teams
    1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
    1.3 ข้อเสนอแนะผ่านสื่อออนไลน์รูปแบบต่างๆ ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา ระบบออนไลน์ Ms teams
          ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
   2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอนผ่านระบบออนไลน์ Ms teams
   2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
   2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ Ms teams
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
    3.1    สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
    3.2   การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในและนอกชั้นเรียนผ่านระบบออนไลน์ Ms teams
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
    4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตรผ่านระบบออนไลน์ Ms teams
    4.2  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรมผ่านระบบออนไลน์ Ms teams
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
    5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
    5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากข้อคิดเห็นของอาจารย์ทางด้านภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมล้านนา