หัวข้อเลือกทางวิศวกรรมเครื่องกล 2

Selected Topic in Mechanical Engineering 2

บรรยาย สัมมนาและการสืบค้นเฉพาะบุคคล หรือ การศึกษาเกี่ยวกับงานด้านการผลิตน้ำจากอากาศ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีเกี่ยวกับการผลิตน้ำจากอากาศ
บรรยาย สัมมนาและการสืบค้นเฉพาะบุคคล หรือ การศึกษาเกี่ยวกับเนื้อหาที่มีความทันสมัยในศาสตร์ด้านวิศวกรรมเครื่องกลและแตกต่างจากรายวิชาบังคับ รายวิชาเลือก และวิชาหัวข้อเลือกทางวิศวกรรมเครื่องกล 1 (MENME126)
3 ขม.
1   เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต 2   มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 3   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 4   สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม 5   มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1 บรรยาย 2 อภิปรายและนำเสนอในชั้นเรียน 3. แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น และประยุกต์ใช้ทฤษฎีกับการออกแบบ
1   ความเข้าใจ และความรู้ของ นศ. ในเนื้อหา 2   ประเมินผล จากการสอบข้อเขียน 3   ประเมินผลการนำเสนอรายงาน 4   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1  มีความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในเนื้อหาสาระหลักของสาขาวิชาตลอดจนหลักการและทฤษฎีที่สำคัญและนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติในวิชาชีพ 2  มีความเข้าใจทฤษฎีการวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพนั้นอย่างลึกซึ้งในวิชาหรือกลุ่มวิชาเฉพาะในระดับแนวหน้า
1 ใช้การสอนในหลากหลายรูปแบบโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆโดยการสอนให้เน้นการค้นคว้า และนำเสนอให้มากที่สุด 2 สอนให้นักศึกษาเรียนรู้หลักการมากกว่าวิธีการ และพัฒนาวิธีการสอนโดยใช้กรณีศึกษาและเปิดให้นักศึกษาแก้ปัญหาด้วยวิธีที่หลากหลายบนพื้นฐานของหลักการ 3 ฝึกให้นักศึกษาค้นคว้าจากบทความวิจัยหรือบทความวิชาการ เนื่องจากจะเป็นผลการวิจัยที่ใช้องค์ความรู้ที่ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา
1 การให้คะแนนจากการสอบข้อเขียน การเขียนรายงาน การนำเสนอ 2 ข้อสอบมุ่งอธิบายหลักการ พิสูจน์ แก้ปัญหาด้วยหลักการ 3 เนื้อหาที่สอนต้องปรับปรุงต่อเนื่องหรือแทรกองค์ความรู้ใหม่อย่างต่อเนื่อง และฝึกให้นักศึกษาค้นคว้าอยู่ตลอดในรูปแบบการนำเสนอ การทำรายงาน ฝึกแก้ปัญหาโดยการทำโครงการหรือวิจัย
1 ใช้ความรู้ทางภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติในการจัดการบริบทใหม่ที่ไม่คาดคิดทางวิชาการและวิชาชีพและพัฒนาแนวคิดริเริ่มและสร้างสรรค์เพื่อตอบสนองประเด็นหรือปัญหาสามารถใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจในสถานการณ์ที่มีข้อมูลไม่เพียงพอ 2 สามารถสังเคราะห์และใช้ผลงานวิจัยสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการหรือรายงานทางวิชาชีพและพัฒนาความคิดใหม่ๆโดยการบูรณาการให้เข้ากับองค์ความรู้เดิมหรือเสนอเป็นความรู้ใหม่ที่ท้าทายสามารถใช้เทคนิคทั่วไปหรือเฉพาะทางในการวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์รวมถึงพัฒนาข้อสรุปและข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้องในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ 3 สามารถวางแผนและดำเนินการโครงการสำคัญหรือโครงการวิจัยค้นคว้าทางวิชาการได้ด้วยตนเองโดยการใช้ความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยและให้ข้อสรุปที่สมบูรณ์ซึ่งขยายองค์ความรู้หรือแนวทางการปฏิบัติในวิชาชีพที่มีอยู่เดิมได้อย่างมีนัยสำคัญ
  1 ในการเรียนการสอนต้องฝึกกระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์ตั้งแต่เริ่มเข้าศึกษาโดยเริ่มต้นจากปัญหาที่ง่ายและเพิ่มระดับความยาก ทั้งนี้ต้องจัดให้เหมาะสมและสอดคล้องกับรายวิชา 2 จัดการสอนแบบยึดผู้เรียนเป็นสำคัญด้วยการแก้ปัญหาจากสถานการณ์จำลองโดยใช้ผลการวิจัยหรือผลงานทางวิชาชีพแก้ปัญหาที่ซับซ้อนอย่างสร้างสรรค์ 
ประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษาได้แก่ 1 ประเมินจากการนำเสนอโครงงานหรือปัญหาที่ได้รับมอบหมายให้ไปค้นคว้าหรือทำวิจัยเพื่อแก้ปัญหา 2 ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสอบถาม แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น
1 สามารถแก้ไขปัญหาที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงทางวิชาชีพได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเองและสามารถประเมินตนเองได้รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้ 2 มีความรับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเองและร่วมมือกับผู้อื่นอย่างเต็มที่ในการจัดการข้อโต้แย้งและปัญหาต่างๆ 3 แสดงออกทักษะการเป็นผู้นำได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการทำงานของกลุ่ม
1 จัดการสอนแบบให้ผู้เรียนเป็นสำคัญ ซึ่งจะผสมผสานวิธีการสอนแบบใช้ปัญหาและโครงงานเป็นฐาน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาให้นักศึกษาเรียนรู้แบบร่วมมือฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม 2 สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมการมีมนุษยสัมพันธ์การเข้าใจในวัฒนธรรมองค์กรเข้าไปในรายวิชาต่างๆและฝึกให้นักศึกษาได้วิพากษ์วิจารณ์ข้อโต้แย้งที่นำไปสู่การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3 ในการสอนแบบเป็นกลุ่มให้เวียนกันเป็นผู้นำทีม
ประเมินผลจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา 1 ในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน 2 สังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 
1 มีทักษะการใช้ภาษาไทยในการอธิบายหลักการและสถานการณ์ตลอดจนการสื่อสารความหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมข้อมูลและนำเสนอรายงาน 3 สามารถคัดกรองข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติเพื่อนำมาใช้ในการศึกษาค้นคว้าปัญหาสรุปปัญหาและเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่างๆ 4 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่างๆทั้งในวงการวิชาการและวิชาชีพรวมถึงชุมชนทั่วไปโดยการนำเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพรวมทั้งวิทยานิพนธ์หรือโครงการค้นคว้าที่สำคัญ 
1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆให้นักศึกษาได้เรียนรู้ด้วยการปฏิบัติในหลากหลายสถานการณ์ 2 มอบหมายกรณีศึกษาที่ต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการค้นคว้าหรือนำเสนอ 3 ฝึกให้นักศึกษาฝึกออกแบบ ฝึกทำการทดลอง การวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย 4 ฝึกให้มีการสื่อสารหรือนำเสนอให้กับผู้รับข้อมูลหลายระดับ เช่น นักวิชาการ ผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการจริง ตลอดจนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ
ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน 1 การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรือคณิตศาสตร์และสถิติ 2 การอธิบายกรณีศึกษาต่างๆที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียนและนำเสนอผลงานวิจัยในที่ประชุม หรือในสถานประกอบการจริง  แก้ไข
 
 1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมืออุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 2 มีทักษะในการออกแบบนวัตกรรม และทักษะการวิเคราะห์และแก้ปัญหาโดยใช้การบูรณา การทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้จากวิชาต่าง ๆที่เรียนมา การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ดังข้อต่อไปนี้ 1    สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน 2    สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ 3    สนับสนุนการเข้าประกวดทักษะด้านการปฏิบัติ 4     สนับสนุนการทำโครงงาน 
1  มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน 2  มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน 3  มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ 4  มีการประเมินโครงงานนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 4 1 2
1 MENME127 หัวข้อเลือกทางวิศวกรรมเครื่องกล 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1.  Jerald D. Parker , Faye C. McQuiston, Jeffrey D. Spitler. (2004). Heating, Ventilating and Air Conditioning Analysis and Design 6th Edition, Wiley; New York.
2. ฉัตรชัย นิมมล (2551). ระบบกำจัดฝุ่นและระบายอากาศ. สำนักพิมพ์ ส.ส.ท.
Gong, F., Li, H., Zhou, Q., Wang, M., Wang, W., Lv, Y., Xiao, R., & Papavassiliou, D. V. (2020). Agricultural waste-derived moisture-absorber for all-weather atmospheric water collection and electricity generation. Nano Energy, 74, 104922. https://doi.org/10.1016/j.nanoen.2020.104922
Li, R., Shi, Y., Wu, M., Hong, S., & Wang, P. (2020). Improving atmospheric water production yield: Enabling multiple water harvesting cycles with nano sorbent. Nano Energy, 67, 104255. https://doi.org/10.1016/j.nanoen.2019.104255
Peters, G. M., Blackburn, N. J., & Armedion, M. (2013). Environmental assessment of air to water machines—Triangulation to manage scope uncertainty. The International Journal of Life Cycle Assessment, 18(5), 1149–1157. https://doi.org/10.1007/s11367-013-0568-2
Raveesh, G., Goyal, R., & Tyagi, S. K. (2021). Advances in atmospheric water generation technologies. Energy Conversion and Management, 239, 114226. https://doi.org/10.1016/j.enconman.2021.114226
Talaat, M. A., Awad, M. M., Zeidan, E. B., & Hamed, A. M. (2018). Solar-powered portable apparatus for extracting water from air using desiccant solution. Renewable Energy, 119, 662–674. https://doi.org/10.1016/j.renene.2017.12.050
Tu, Y., Wang, R., Zhang, Y., & Wang, J. (2018). Progress and Expectation of Atmospheric Water Harvesting. Joule, 2(8), 1452–1475. https://doi.org/10.1016/j.joule.2018.07.015
Wahlgren, R. V. (2001). Atmospheric water vapour processor designs for potable water production: A review. Water Research, 35(1), 1–22. https://doi.org/10.1016/S0043-1354(00)00247-5
Wang, J. Y., Wang, R. Z., & Wang, L. W. (2016). Water vapor sorption performance of ACF-CaCl 2 and silica gel-CaCl 2 composite adsorbents. Applied Thermal Engineering, 100, 893–901. https://doi.org/10.1016/j.applthermaleng.2016.02.100
Wang, Y., Gao, S., Zhong, H., Zhang, B., Cui, M., Jiang, M., Wang, S., & Wang, Z. (2022). Heterogeneous wettability and radiative cooling for efficient deliquescent sorbents-based atmospheric water harvesting. Cell Reports Physical Science, 100879. https://doi.org/10.1016/j.xcrp.2022.100879
Yang, K., Pan, T., Lei, Q., Dong, X., Cheng, Q., & Han, Y. (2021). A Roadmap to Sorption-Based Atmospheric Water Harvesting: From Molecular Sorption Mechanism to Sorbent Design and System Optimization. Environmental Science & Technology, 55(10), 6542–6560. https://doi.org/10.1021/acs.est.1c00257
Munsin. R. et al. (2022). Feasibility Study of Atmospheric Water Harvesting by Direct Cooling in Thailand, 6th International Conference on Green Technology and Sustainable Development (GTSD), Nha Trang, Vietnam.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ ดังนี้  - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ผลการเรียนของนักศึกษา  - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ ข้อเสนอแนะจากนักศึกษาในปีก่อนหน้า
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้  - การสัมมนาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน นำไปปฏิบัติ
ตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น