การเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ

Aquatic Animal Breeding

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการพ่อแม่พันธุ์สัตว์น้ำ พัฒนาการและการควบคุมระบบสืบพันธุ์ของสัตว์น้ำ การเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ การอนุบาลและการให้อาหาร การจับ การลำเลียง และการจำหน่ายลูกพันธุ์สัตว์น้ำ
เพื่อให้นักศึกษา                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                             1. มีความเข้าใจเกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีในการเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                     2. มีทักษะปฏิบัติงานเพาะพันธุ์สัตว์น้ำสำคัญทางเศรษฐกิจ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการพ่อแม่พันธุ์สัตว์น้ำ พัฒนาการและการควบคุมระบบสืบพันธุ์ของสัตว์น้ำ การเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ การอนุบาลและการให้อาหาร การจับ การลำเลียง และการจาหน่ายลูกพันธุ์สัตว์น้ำ
จัดให้นักศึกษาเข้าพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการที่เกี่ยวข้องสัปดาห์ละ ๒ ชั่วโมง หรือตามความต้องการรายบุคคล
มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
1. กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา การมีวินัยในการปฏิบัติงาน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 2. 
การฝึกประสบการณ์ที่เน้นการปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ
3. กระบวนการสอนที่มีการเสริมสร้างจิตสำนึก และพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน เช่น มีกิจกรรมการดูแลรักษาสถานที่ปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ
1.3.1  ใช้แบบประเมินที่พัฒนาขึ้นตามหลักวิชาการ และให้ผู้มีส่วนได้เสียอย่างน้อย 3 คน ได้ประเมิน เช่น เพื่อนร่วมชั้นเรียน อาจารย์ผู้สอน และนักศึกษาประเมินผลตนเอง 
1.3.2 สังเกตพฤติกรรมที่พึงประสงค์ว่าเป็นไปตามตามที่ต้องการ หรือมีจำนวนเพิ่มขึ้น เช่น นักศึกษาต้องมีเวลาเข้าเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด ร้อยละ 90 ของนักศึกษา ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่กำหนดไว้ เช่น การมีวินัย  ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย  และการปฏิบัติตนตามระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย ไม่มีการทุจริตในการสอบ หรือไม่มีการลอกรายงาน ความพร้อมเพรียงในการเข้าร่วมโครงการหรือกิจกรรมของนักศึกษา ความรับผิดชอบในหน้าที่ การแสดงความเห็นที่สอดคล้องกับสิ่งที่ถามและเชื่อมโยงให้ได้ทราบว่าเป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรม เป็นต้น
มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพ (พืชศาสตร์/สัตวศาสตร์/ประมง) ที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบทั้งหลักการ ทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
2.2.1    ฝึกปฏิบัติการเพาะพันธุ์ปลา การอภิปรายแลกเปลี่ยนในหลักการของการเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ การอนุบาลและการให้อาหาร      2.2.2    มอบหมายให้ค้นคว้างานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการเรียน พร้อมทั้งทำรายงานส่ง
2.3.1    สอบกลางภาคและปลายภาค
2.3.2    จัดทำรายงานเรื่องที่มอบหมายให้ศึกษา
2.3.3    ตรวจงานในแต่ละบทปฏิบัติการ
2.3.4    การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและตอบปัญหา
สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
๓.๒.๑  กระตุ้นให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ ร่วมอภิปรายปัญหาต่าง ๆ กับอาจารย์ ตลอดจนให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง  ๓.๒.๒  มอบหมายงานที่ส่งเสริมกระบวนการการคิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์                                                                                                                                                                                                           ๓.๒.๓  ปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง
- โดยการทดสอบจากข้อสอบที่เป็นข้อสอบซึ่งต้องให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ตลอดจนนำหลักการและทฤษฎีไปอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม - ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                          - - - -   - ประเมินจากการปฏิบัติจริง
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 
มอบหมายงานให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม แล้วนำเสนอผลงาน ทั้งการค้นคว้า และผลการปฏิบัติงานในชั้นเรียน
ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ได้รับมอบหมายของกลุ่ม
มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง  พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน
 ๕.๒.๑  กำหนดให้นักศึกษาใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร ค้นคว้า และใช้ในการนำเสนอผลงาน
๕.๓.๑ ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม                                                                                                                                                                                                                                                                                        ๕.๓.๒. ประเมินจากข้อมูลที่นำเสนอเป็นตัวเลขทางคณิตศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ๑.๑.๒ การเข้าชั้นเรียน/ความสนใจ/ความตรงต่อเวลา/การไม่ทุจริต ทั้งด้านการเรียนและการฝึกปฏิบัติทักษะตามที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ๒.๑.๑, ๓.๑.๑ สอบกลางภาค สอบปลายภาค รายงานที่นักศึกษาจัดทำในแต่ละบทปฏิบัติการ การอภิปรายกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 ๒.๑.๑, ๓.๑.๑, ๑.๑.๒, ๕.๑.๑, ๒.๑.๑, ๓.๑.๓ การฝึกปฏิบัติทักษะการเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ / งานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
4 ๓.๑.๑, ๔.๑.๑, ๕.๑.๑ การนำเสนองานในชั้นเรียน ๓, ๑๕ 20%
5 ๕.๑.๒ สื่อที่ใช้ในการนำเสนองาน ๓, ๑๕ 10%
อุทัยรัตน์ ณ นคร. 2538. การเพาะขยายพันธุ์ปลา. พิมพ์ครั้งที่ 4. สำนักพิมพ์รั้วเขียว, กรุงเทพฯ. 231 หน้า.
www.fishesbase.org, www.fisheries.go.th
  http://inlandfisheries.go.th/index.php
บทความทางวิชาการที่เกี่ยวกับการเพาะพันธุ์ปลา 
๑.๑  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
๑.๒  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
    ๒.๑   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
    ๒.๒   ผลการเรียนของนักศึกษา
    ๒.๓   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
          ๓.๑   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
          ๓.๒  ปรับปรุงการสอนตามผลการประเมินผู้สอนเป็นรายวิชา
๔.๑  การตรวจสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
๔.๒ มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา รายงาน วิธีการให้คะแนนปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ คณะมีระบบการทบทวนประสิทธิผลรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขา  การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผล ของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชาเพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรทุก ๕ ปี