ทักษะวิชาชีพประมง 1

Practical Skills in Fisheries 1

1.1. มีทักษะในการปฏิบัติงานเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ      1.2. มีทักษะในการวางแผนและทำงานร่วมกับผู้อื่น  
2.1 เพื่อให้เป็นวิชาที่นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ       2.2 เพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์ด้านการเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ       2.3 เป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้จริงเมื่อสำเร็จการศึกษา  
ฝึกปฏิบัติการเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ   การอนุบาลลูกสัตว์น้ำวัยอ่อน การผลิตอาหารสัตว์น้ำวัยอ่อน  การจัดการบ่อและพื้นที่ที่ใช้อนุบาลสัตว์น้ำ  การใช้เครื่องมือต่างๆ ในห้องปฏิบัติการทางการประมง  การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ
จัดให้นักศึกษาเข้าพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการที่เกี่ยวข้องสัปดาห์ละ ๒ ชั่วโมง โดยอาจารย์จะแจ้งวันและเวลาให้นักศึกษาทราบ
๑.๑.๑  มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
๑.๒.๑   กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา การมีวินัยในการปฏิบัติงาน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
๑.๓.๑  นักศึกษาต้องมีเวลาเข้าเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด                 ๑.๓.๒  ร้อยละ 90 ของนักศึกษา ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่อาจารย์กำหนด เช่น การมีวินัย  ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย  ปฏิบัติตนตามระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย
มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
๒.๒.๑  การค้นคว้าความรู้และมอบหมายงานให้ฝึกปฏิบัติด้านการเพาะพันธุ์สัตว์น้ำที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ
                
ประเมินผลงานในแต่ละบทปฏิบัติการ
 การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและตอบปัญหาจากการปฏิบัติงาน
สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
๓.๒.๑  กระตุ้นให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ ร่วมอภิปรายปัญหาต่าง ๆ กับอาจารย์ ตลอดจนให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
 ๓.๒.๒  มอบหมายงานที่ส่งเสริมกระบวนการการคิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์                         ๓.๒.๓  ปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง
๓.๓.๑  ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน                                                        ๓.๓.๒  ประเมินจากการปฏิบัติจริง
มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
มอบหมายงานให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม แล้วนำเสนอผลการปฏิบัติงานในชั้นเรียน 
ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ได้รับมอบหมายของกลุ่ม
มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง  พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน
          ๕.๒.๑  กำหนดให้นักศึกษาใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร ค้นคว้า และใช้ในการนำเสนอผลงาน
๑. ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม                                   ๒. ประเมินจากข้อมูลที่นำเสนอเป็นตัวเลขทางคณิตศาสตร์ 
การปฏิบัติงานด้วยแนวการปฏิบัติที่ดีทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
๑. ให้นักศึกษาปฏิบัติงานที่ยึดหลักความปลอดภัย                                                                                 ๒. ฝึกปฏิบัติทักษะวิชาชีพด้านการเพาะขยายพันธุ์สัตว์น้ำ                                                                     ๓. การปฏิบัติงานด้วยแนวการปฏิบัติที่ดีทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
๑. ประเมินสมรรถนะด้านการเพาะขยายพันธุ์สัตว์น้ำ                                                                                ๒. พูดคุย ซักถามความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ การวางแผนผลิต วิธีการเพาะขยายพันธุ์ การอนุบาล และการรวบรวมผลผลิตสัตว์น้ำ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ๑.๑.๑ การเข้าชั้นเรียน/ความสนใจ/ความตรงต่อเวลา/ ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ๒.๑.๒, ๑.๑.๑, ๓.๑.๑, ๔.๑.๒ รายงานผลการฝึกปฏิบัติทักษะ และผลการประเมินสมรรถนะด้านการเพาะขยายพันธุ์สัตว์น้ำ 3-16 60%
3 ๑.๑.๑, ๒.๑.๒, ๓.๑.๑, ๔.๑.๒ การอภิปรายกลุ่ม (การถอดบทเรียนการฝึกปฏิบัติทักษะวิชาชีพประมง (การเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ) 4ล 9, 13, 16 10%
4 ๑.๑.๑, ๓.๑.๑, ๒.๑.๒, ๔.๑.๒, ๕.๑.๑ รายงานผลงานการปฏิบัติทักษะ 5, 9, 11, 14, 16 20%
๑.๑  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
          ๑.๒  แบบประเมินสมรรถนะการเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ
    ๒.๑   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
    ๒.๒   ผลการปฏิบัติของนักศึกษา
    ๒.๓   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
 
          ๓.๑  ปรับปรุงการสอนตามผลการประเมินผู้สอนเป็นรายวิชา
๔.๑  การตรวจสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
๔.๒ มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา รายงาน วิธีการให้คะแนนปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ คณะมีระบบการทบทวนประสิทธิผลรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขา  การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผล ของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชาเพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรทุก ๕ ปี