ฝึกงานทางวิชาชีพประมง

Job Internship in Fisheries

     1.1. มีทักษะในการปฏิบัติงานทางวิชาชีพประมง
     1.2. มีทักษะในการปฏิบัติงานร่วมกับบุคคลทั่วไป
     1.3. มีจิตสำนึกที่ดีเกี่ยวกับวิชาชีพประมง
      2.1 เพื่อให้เป็นวิชาที่นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ
      2.2 เพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์ด้านวิชาชีพประมง
      2.3 เป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้จริงเมื่อสำเร็จการศึกษา
      2.4 เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงและตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน
การจัดการศึกษาบูรณาการองค์ความรู้ นอกสถานศึกษาโดยกำหนดให้ฝึกปฏิบัติงานเกี่ยวกับด้านการประมงในองค์กร/สถานประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน   ทั้งในประเทศหรือต่างประเทศ เป็นเวลา  1  ภาคการศึกษา  ระยะเวลาไม่ต่ำกว่า 450 ชั่วโมง  ในฐานะพนักงานเต็มเวลา ประเมินผลการปฏิบัติงานโดยจัดทำรายงาน และนำเสนอ
กำหนดให้นักศึกษาสามารถขอคำปรึกษาและคำแนะนำทางวิชาการได้ตามความต้องการแต่ละบุคคล (ใช้ช่องทางการติดต่อสื่อสารทั้งโทรศัพท์ และแอปพลิเคชั่น ไลน์
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ                                                                                     1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม                    1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 ปฐมนิเทศนักศึกษาถึงระเบียบ วินัย คุณธรรม ที่พึงปฏิบัติ ก่อนการฝึกงาน                                        1.2.2 กำหนดตารางเวลาฝึกงาน บันทึกเวลาฝึกงาน กำหนดขอบเขตของงาน                                            1.2.3 มอบหมายงาน กำหนด ติดตามและควบคุมให้นักศึกษาปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง                              1.2.4 ปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถานประกอบการเช่นเดียวกับพนักงานขององค์กร                              1.2.5 การให้ความเคารพ และให้เกียรติพนักงานขององค์กรทุกระดับชั้น
1.3.1 ประเมินโดยพนักงานพี่เลี้ยง หรือพนักงานควบคุมการฝึกงาน จากการสังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกระหว่างฝึกงาน โดยมีหลักฐานการบันทึกและแจ้งผลการประเมิน                                           1.3.2 ประเมินจากการพูดคุย สัมภาษณ์เพื่อนร่วมงาน หัวหน้างาน และผู้เกี่ยวข้อง พร้อมมีรายงานผลการฝึกงานประกอบ
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา                                        2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.2.1 ฝึกปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย                                                                                        2.2.2 การอบรมให้ความรู้ด้านวิชาการ เทคโนโลยีและวิทยาการใหม่ๆ ทางวิชาชีพ
2.3.1 ติดตามผลการปฏิบัติงาน                                                                                                              2.3.2 การนำเสนอการปฏิบัติงาน
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา 
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2.1 นำเสนอกระบวนการและผลการปฏิบัติงานจริง                                                                          3.2.2 ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติงานจริง
3.3.1 ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา                                                                  3.3.2 ประเมินจากการนำเสนอรายงาน
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ                                                              4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ทั้งในสภาวะที่เป็นผู้นำหรือผู้ตาม                                                             4.2.2 การให้ความช่วยเหลือเพื่อนร่วมงาน นอกเหนือจากงานที่ได้รับมอบหมาย
4.3.1 ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานจริงโดยพนักงานพี่เลี้ยง หรือพนักงานควบคุมการฝึกงาน              4.3.2 ประเมินจากการการสอบถามเพื่อนร่วมงาน พนักงานพี่เลี้ยง หรือพนักงานควบคุมการฝึกงาน
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 ให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้นโดยใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ              5.2.2 การใช้ภาษาประกอบการนำเสนอผลงานได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากการใช้สื่อในการนำเสนองาน                                                                                  5.3.2 ประเมินทักษะการใช้ภาษาในการนำเสนองาน
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ
6.2.1 ฝึกปฏิบัติจริงในสถานประกอบการ
6.3.1 ประเมินจากขั้นตอนวิธีการปฏิบัติและผลสำเร็จของงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบ รายงานผลการทำงาน ไม่มาสายตามระเบียบที่กำหนด หรือขาดงานโดยไม่แจ้งล่วงหน้า 1-17
2 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สังเกตพฤติกรรมในระหว่างการปฏิบัติงาน ประเมินจากการพูดคุย สัมภาษณ์เพื่อนร่วมงาน 2-15
3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ ปฏิบัติงานตามแนวปฏิบัติที่ดีทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 2-15
4 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา ติดตามผลการปฏิบัติงาน ประเมินจากรายงานการปฏิบัติงานจากพนักงานพี่เลี้ยง หรือพนักงานควบคุมการฝึกงาน 2-15
5 ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา พูดคุย สอบถาม การแสดงความเห็นของนักศึกษา 2-15
6 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ ขั้นวิธีการปฏิบัติงานจริง ผลงาน การนำเสนอรายงาน 3-16
7 ภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ การสังเกตการปฏิบัติงานจริง สอบถามเพื่อนร่วมงาน พนักงานพี่เลี้ยง หรือพนักงานควบคุมการฝึกงาน 5-16
8 มนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี สังเกตการปฏิบัติงาน สอบถามเพื่อนร่วมงาน พนักงานพี่เลี้ยง หรือพนักงานควบคุมการฝึกงาน 4-16
9 ทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม การสังเกตการปฏิบัติงาน การสอบถามเพื่อนร่วมงาน พนักงานพี่เลี้ยง หรือพนักงานควบคุมการฝึกงาน 3-15
10 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม ทักษะการใช้ภาษาในการนำเสนองาน 9, 15
11 ใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ การใช้ภาษาสื่อสารในการทำงาน และการนำเสนองาน 2-16
12 ทักษะในการปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ ขั้นตอนวิธีการปฏิบัติและผลสำเร็จของงาน 2-16
13 ทักษะการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม ขั้นตอนวิธีการปฏิบัติและผลสำเร็จของงาน 3-16
นักศึกษาทำรายงานประเมินตนเอง และตอบแบบสอบถามการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
พนักงานพี่เลี้ยง หรือพนักงานควบคุมการฝึกงานประเมินนักศึกษาจากบันทึกงานที่มอบหมาย และการนำเสนองาน                                                                                                                                                      อาจารย์ที่ปรึกษาเฉพาะเรื่อง บันทึกการให้คำปรึกษา ผลการดำเนินงานของนักศึกษาหลังให้คำปรึกษา     ในแบบฟอร์มรายงานผลการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม การนำคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษาไปใช้ในการ    แก้ปัญหาของนักศึกษา
3.1 อาจารย์ที่ปรึกษาการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ประมวลผลการฝึกประสบการณ์ภาคสนามของนักศึกษาจากผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากนักศึกษา จากพนักงานพี่เลี้ยง และจากอาจารย์ที่ปรึกษาเฉพาะเรื่อง รายงานต่ออาจารย์รับผิดชอบหลักสูตร และประธานหลักสูตร 3.2 ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรเพื่อร่วมพิจารณานำข้อเสนอแนะมาปรับปรุงสำหรับการใช้รอบปีการศึกษาถัดไป โดยนำแสดงไว้ในรายงานผลการดำเนินการหลักสูตร
4.1 พิจารณาความเหมาะสมของการมอบหมายงานจากสถานประกอบการ และประเมินรายงาน                  4.2 ตรวจสอบแผนการปฏิบัติงานในโครงการประสบการณ์ภาคสนามของนักศึกษา                                   4.3 สอบถามจากพี่เลี้ยงหรือผู้ควบคุมการฝึกประสบการณ์วิชาชีพของสถานประกอบการ/หน่วยงาน                 4.4 การตอบข้อซักถามในการนำเสนอรายงานผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
1. นำข้อมูลที่นักศึกษาประเมินตนเอง ผลการประเมินจากสถานประกอบการ/หน่วยงาน การนำเสนอรายงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพของนักศึกษา และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ เสนอต่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และประธานหลักสูตรเพื่อทราบ                                                                                               2. ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตร ร่วมพิจารณานำข้อเสนอแนะหรือข้อควรปรับปรุง มาเป็นแนวทางในการดำเนินการวางแผนรายวิชาในรอบปีการศึกษาถัดไป