การจัดการผลิตภัณฑ์และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่

Product Management and New Product Development

ศึกษาบทบาทของผลิตภัณฑ์และการจัดการผลิตภัณฑ์ องค์ประกอบและประเภทของผลิตภัณฑ์ การวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ การจัดการส่วนผสมผลิตภัณฑ์ วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์  การพัฒนากลยุทธ์ผลิตภัณฑ์  ผลิตภัณฑ์ใหม่และนวัตกรรม กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ การรับผลิตภัณฑ์ใหม่มาใช้ของลูกค้า
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ เกี่ยวกับบทบาทของผลิตภัณฑ์และการจัดการผลิตภัณฑ์ องค์ประกอบและประเภทของผลิตภัณฑ์ การวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ การจัดการส่วนผสมผลิตภัณฑ์ วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์  การพัฒนากลยุทธ์ผลิตภัณฑ์  ผลิตภัณฑ์ใหม่และนวัตกรรม กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ การรับผลิตภัณฑ์ใหม่มาใช้ของลูกค้า
บทบาทของผลิตภัณฑ์และการจัดการผลิตภัณฑ์ องค์ประกอบและประเภทของผลิตภัณฑ์ การวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ การจัดการส่วนผสมผลิตภัณฑ์ วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์  การพัฒนากลยุทธ์ผลิตภัณฑ์  ผลิตภัณฑ์ใหม่และนวัตกรรม กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ การรับผลิตภัณฑ์ใหม่มาใช้ของลูกค้า
 
อย่างน้อย 10 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ โดยทำการรับให้คำปรึกษาที่ห้องสาขาวิชาการตลาดและการตลาดดิจิทัล นักศึกษาสามารถเข้าพบอาจารย์ผู้สอนได้ตลอดเวลาทำการ และสามารถปรึกษานอกเวลาทำการได้ผ่าน Line, Messenger
1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรมคุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจมีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละไม่เอารัดเอาเปรียบซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น  2. มีความพอเพียงมีวินัยขยันอดทนเพียรพยายามตรงต่อเวลารับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพสังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อมมีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม  3. มีความเคารพต่อกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
มีการจัดกิจกรรมในรายวิชา เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม มีการสอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา รวมทั้งปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงเวลา ส่งงานภายในเวลาที่กำหนด ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย และอธิบายระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบโดยการสอดแทรกในการสอน มีการมอบหมายงานกลุ่มเน้นการเป็นผู้นำและเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมีส่วนร่วมและแสดงความคิดเห็น รวมถึงบทโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้แก่ชุมชน
1. ประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ  2. ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม  3. ประเมินจากการเข้าเรียน ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย  4. สังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่มและความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน  5. ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ 
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทฤษฎีและการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสมและพัฒนาความรู้ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 3. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของรายวิชาและเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ และเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน รวมถึงการจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง นอกจากนั้นยังใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่ไปกับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและการบรรยายในชั้นเรียนถามตอบ
การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน  รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้ากิจกรรมหรือการนำความรู้ไปตอบในแบบทดสอบ  ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริงหรือสถานการณ์จริง  ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ  ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา  ประเมินจากการนำเสนอผลงาน  ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงานการค้นคว้าหน้าชั้นเรียน
2. สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือก และผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ 3. คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบกาณณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน  กรณีศึกษาทางการจัดการโครงการ งานวิจัย และกำหนดให้นักศึกษาวางแผนการทำงานเป็นทีม  การศึกษา ค้นคว้า และรายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน  การมอบหมายงานการแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง  จัดให้ในรายวิชามีกิจกรรมที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาว์ปัญญาความคิดการวิเคราะห์และสังเคราะห์ด้านต่างๆทั้งในสาขาและนอกสาขา
ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงาน ผลการวิจัย ผลการอภิปราย และประเมินจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหาอธิบายแนวคิดการแก้ปัญหาและวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมา ซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มารวมถึงการประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
1. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้ 2. มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ๆได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม และพร้อมพัฒนาการเรียนรู้ของตนอย่างต่อเนื่อง 
1. ใช้การสอนโดยสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง  2. จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม  3. จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ และการอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป  4. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสารระหว่างบุคคลทั้งภายในสถาบันการศึกษาและภายนอกสถาบันการศึกษา  5. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและทำงานร่วมกัน
1. การทดสอบย่อยกลางภาคและปลายภาค  2. ประเมินจากพฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา  3. ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา  4. สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง (Brainstorming)  5. ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการทำสหกิจศึกษา
2. สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสาร และเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ 3. สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร  2. มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ  3. ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง และให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล  4. ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจจากข้อมูลบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข  5. บูรณาการการใช้คอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์หรือสื่อต่างๆในทุกรายวิชาที่สามารถทำได้
การทดสอบย่อยกลางภาคและปลายภาค ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคลและการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม  จากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ  ประเมินจากการสรุปและอภิปรายงาน/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ตัวเลขซึ่งได้รับมอบหมายร่วมกัน
1. สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริงและนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม  จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตำหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม  จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจด้านการวางแผนการจัดโครงสร้างองค์การการปฏิบัติการการควบคุมและการรายงานผลการดำเนินงานรวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์  จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน  จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง  จัดกิจกรรมที่ให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย
ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษาจากการจำลองหรือสถานการณ์จริงและความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม  พฤติกรรมที่แสดงออกในการเข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตำหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม  พฤติกรรมที่แสดงออกจากการเข้าฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน  การนำเสนอผลงานหรือโครงงานโดยการเลือกใช้ภาษาการสื่อสารในบริบทต่างๆเพื่อคิดวิเคราะห์แก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม  นักศึกษาสามารถใช้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลขได้
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1
1 BBABA632 การจัดการผลิตภัณฑ์และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.3, 3.2, 3.3 การสอบกลางภาคและการสอบปลายภาค 9, 18 30%, 30%
2 1.1, 1.2, 1.3, 2.1, 2.3, 3.2, 3.3, 4.1, 4.2, 5.2, 5.3, 6.1 งานมอบหมาย กิจกรรมในชั้นเรียน การนำเสนองาน ตลอดภาคเรียน 35%
3 1.1, 1.2, 1.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน พฤติกรรมในชั้นเรียน ตลอดภาคเรียน 5%
อัจฉราพร แปลงมาลย์. 2562. การจัดการผลิตภัณฑ์และราคา. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง รศ.ศิริวรรณ เสรีรัตน์. นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา. กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด(มหาชน)  
วารสาร นิตยสาร บทความหรืองานวิจัยต่าง ๆ ทางการตลาด และ เว็บไซต์ทางธุรกิจ
1. ระดับคะแนนจาการทดสอบ การสอบกลางภาคและปลายภาค 2. ประเมินจากการสอบถาม ถามตอบ กับผู้เรียน 3. ผลคะแนนทวนสอบของรายวิชา 4. การวิจัยในชั้นเรียน
1. ผลการประเมินการสอนจากนักศึกษา 2. ประเมินจากการสอบถาม คำแนะนำ ข้อเสนอแนะวิธีการสอนที่เหมาะสมกับผู้เรียน 3. ผลคะแนนทวนสอบของรายวิชา 
ปรับวิธีการสอนตามผลประเมินและการแนะนำจากผู้เรียนหรือจากผลการวิจัยชั้นเรียน
1. การทวนสอบตามแบบฟอร์มของคณะ 2. การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรร
1. ปรับวิธีการสอน ปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา