การจัดการโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร

Agro-Industrial Plant Management

1.1 รู้ถึงการพัฒนาของโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร ประเภทโรงงาน การเลือกสถานที่ตั้งโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร
1.2 รู้หลักการการจัดระบบการบริหารโรงงานด้านองค์กร ด้านการจัดการผลิตและการใช้เครื่องมือและเครื่องจักรที่เหมาะสม
1.3 ทราบหลักการด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ด้านการจัดการพลังงาน การจัดการป้องกันอุบัติภัยในโรงงาน การจัดการมลภาวะในโรงงานอาหารและกระบวนการกำจัดและใช้ประโยชน์จากของเหลือใช้จากกระบวนการผลิต
 
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัดการโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร ให้มีความทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบันเสมอ อีกทั้งให้นักศึกษานักศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การพัฒนาของโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร ประเภทโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร การเลือกสถานที่ตั้ง การจัดระบบการบริหารโรงงานด้านองค์กร ด้านการจัดการผลิตและการใช้เครื่องมือและเครื่องจักรที่เหมาะสม ด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ด้านการจัดการพลังงาน การจัดการป้องกันอุบัติภัยในโรงงานการจัดการมลภาวะในโรงงานอาหาร และกระบวนการกำจัดและใช้ประโยชน์จากของเหลือใช้จากกระบวนการผลิต มีการศึกษาดูงานนอกสถานที่ Agro - industrial factory development; type of Agro - industrial factory; selecting location; management system for organization, production and proper use of equipment, human resources, safety in factory, pollution management in food factory and wastes management system;industrial visit
 
ต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
˜1.1มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
กำหนดให้นักศึกษาทุกคนต้องมีความเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆของการเรียน เช่น การตรงต่อเวลาที่กำหนด ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ การเคารพสิทธิและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
และอาจารย์ผู้สอนปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้นักศึกษามีระเบียบวินัยในการเข้าชั้นเรียน โดยอาจารย์เข้าชั้นเรียนตรงต่อเวลา และเลิกชั้นเรียนตรงต่อเวลา
พฤติกรรมต่างๆในการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา      
 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบปรนัย
ประเมินจากการตอบปัญหาในชั้นเรียน การสอบย่อย (Quiz) การสอบกลางภาคและปลายภาค และการนำเสนอผลงานทั้งแบบรายบุคคลและกลุ่ม
˜3.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา ศึกษาจากประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหาหรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือและความเป็นไปได้
ประเมินจากการตอบปัญหาในชั้นเรียน การสอบย่อย (Quiz) การสอบกลางภาคและปลายภาค และการนำเสนอผลงานทั้งแบบรายบุคคลและกลุ่ม
˜4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม
สอนโดยมีกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน มีกิจกรรมทำงานเป็นกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามภาระงานที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่นได้ โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
การประเมินจากการแสดงออกอย่างมีส่วนร่วมในชั้นเรียน และประเมินผลงานจากรายงานของนักศึกษาทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7 1
1 BSCFT210 การจัดการโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.4,1.5 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5%
2 1.4,1.5 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
3 2.3 , 3.2 ทดสอบระหว่างเรียน 4,6,8,10,16 60%
4 3.2, 5.1, 5.2 การนำเสนองาน/การรายงาน 14 30%
เสาวนีย์ เลิศวรสิริกุล. 2552. การจัดการโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คงศักดิ์ ศรีแก้ว. 2556. การบริหารจัดการคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วราวุฒิ ครูส่ง. 2547. การประกันคุณภาพในอุตสาหกรรมอาหาร. ดี สแควร์อินเตอร์เนชั่นแนล.
พาขวัญ ทองรักษ์. 2549. การสุขาภิบาลโรงงานอุตสาหกรรมอาหารและกฎหมายอาหาร. คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ.
หนังสืออื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาในรายวิชา จากห้องสุดและสารสนเทศต่างๆ
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

1.2 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ผลการเรียนของนักศึกษา
 
แผนกวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา  มีการประชุมอาจารย์ในแผนกวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
แผนกวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของแผนกวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
: แผนกวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของแผนกวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าแผนกวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป