การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

Computer Programming

1.1 เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาหลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม องค์ประกอบของประโยคคำสั่งของภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
1.2 เพื่อให้เข้าใจตัวแปร ค่าคงที่ เครื่องหมายกระทำการ นิพจน์ ฟังก์ชัน  ชนิดของข้อมูล
1.3 เพื่ออธิบายองค์ประกอบของประโยคคำสั่งภาษาคอมพิวเตอร์
1.4 เพื่อเข้าใจโครงสร้างข้อมูลแบบอาร์เรย์ แบบลิสต์
1.5 เพื่อเข้าใจคำสั่งแบบตามลำดับ เลือกทำ และการวนซ้ำ การสร้างโปรแกรมย่อย การส่งผ่านค่าภายในโปรแกรม การบันทึกและอ่านข้อมูลจากแฟ้มข้อมูล โดยการใช้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง
1.6 เพื่อฝึกปฏิบัติ การใช้เครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรม การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
1.4 เพื่อฝึกการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ การตรวจสอบ ทดสอบ และแก้ไขข้อผิดพลาดของโปรแกรม
1.1 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีทักษะศาสตร์การคำนวณ สามารถคิดเป็นระบบ แก้ไขปัญหาด้วยเหตุผล ซึ่งเป็นพื้นฐานการพัฒนาทักษะการเรียนรู้และต่อยอดกับงานด้านอื่นได้
1.2 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นพื้นฐานการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น
รหัสรายวิชาเดิม :22123102
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ศึกษาหลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม องค์ประกอบของประโยคคำสั่ง เช่น ตัวแปร ค่าคงที่ เครื่องหมายกระทำการ นิพจน์ ฟังก์ชัน เป็นต้น ชนิดของข้อมูลแบบต่าง ๆ โครงสร้างข้อมูลแบบอาร์เรย์ แบบลิสต์ ศึกษาเกี่ยวกับคำสั่งแบบตามลำดับ เลือกทำ และการวนซ้ำ การสร้างโปรแกรมย่อย การส่งผ่านค่าภายในโปรแกรม การบันทึกและอ่านข้อมูลจากแฟ้มข้อมูล โดยการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง ฝึกปฏิบัติ การใช้เครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรม การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การตรวจสอบ ทดสอบ และแก้ไขโปรแกรม
Principle of computer programing. Elements of statement such as variable, constants, operator, expression, function, data type, array, list, sequence statement, selection and repetition. Sub-program, passing parameters, read and write files by using one of programing languages. Practice tools for developing programing, correcting, testing and debug.
3.1 วันพุธ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง...GE812......โทร... 081-2680639
3.2 e-mail; pakorns@rmutl.ac.th เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.1 มีจริยธรรมทางวิชาการและวิชาชีพตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
1.2 มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม
- บรรยายให้รู้ถึงหน้าที่ของหน้าที่ของตนเอง
- บรรยาย ชี้ให้เห็นถึงข้อเสียของการทุจริตหรือการคัดลอกแบบฝึกหัด
-ประเมินจากการเข้าใช้เรียน และความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย
- ประเมินจากการสังเกตุ
- มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
- สามารถวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญูหา
 
 
บรรยายทฤษฎีและฝึกปฏิบัติ
-ประเมินจากข้อสอบ ย่อย, สอบกลางภาค, ปลายภาคเรียน
คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
- มีใบงานให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติจริง  
-ประเมินจากผลงานที่ได้ปฏิบัติจริงและหรือจากการทดสอบ
มีความรับผิดชอบของตนเองและความรับผิดชอบในกลุ่ม
 
มีใบงานให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติจริง 
 
ประเมินจากพฤติกรรมและความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์
ฝึกปฏิบัติการในใช้เครื่องมือใน การพัฒนาโปรแกรม (editor) ที่มีในปัจจุบัน
ประเมินจากความสามารถในการใช้เครื่องมือ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจริยธรรมทางวิชาการและวิชาชีพตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต 1.2 มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม 1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ 1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม 1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม 1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ 2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 2.3 สามารถวิเคราะห์ออกแบบติดตั้งปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด 2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์รวมทั้งการนำไปประยุกต์ 2.5 รู้เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง 2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ 2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง 2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 สามารถสืบค้นตีความและประเมินสารสนเทศเพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม 4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทย และภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกเเก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำหรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน 4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง คุณสมบัติต่าง ๆ นี้สามารถวัดระหว่างการทำกิจกรรรมร่วมกัน 5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน โดยเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม 5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม
1 BSCCS301 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรมจริยะธรรม 1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต 1.2 มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม - ประเมินด้วยการสังเกตุพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษาและด้านความเอาใจใส่บทเรียน -แบบทดสอบ ประเมินจากการเช็คชื่อเข้าเรียน จากงานที่มอบหมาย 1-15 5%
2 ความรู้ : 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา -แบบฝึกหัดและแบบทดสอบย่อย -วิธีการถาม-ตอบในชั้นเรียน -การสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน - การทดสอบย่อย - การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน - งานที่มอบหมาย 1-15 5%
3 ด้านปัญญา 3.3 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ - การทดสอบย่อย - การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน - งานที่มอบหมาย 4,6,10 10%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม -การสังเกตุ -งานที่มอบหมาย -สอบกลางภาค 9 30%
5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ประเมินจากผลงานที่ได้ปฏิบัติจริงและหรือจากการทดสอบ 14 20%
6 2.1, 2.2 การสอบปลายภาค 30% 17
1. ตำราและเอกสารหลักที่ใช้ในการเรียนการสอน
1.1 เขียนโปรแกรมภาษาซี ฉบับสมบูรณ์ ของนิรุธ อำนวยศิลป์ รวมโจทย์ ข้อสอบภาษา C ของประภาพร ช่างไม้
1.2 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C ของ โอภาส  เอี่ยมสิริวงศ์
 
 
2. เอกสารและข้อมูลสำคัญที่นักศึกษาจำเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติม
…………..ไม่มี
3.1 เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง
https://www.w3schools.in/c-programming
 
 
 
1.1 ประเมินการสอนด้วยแบบสอบถามออนไลน์จากส่วนกลาง
1.2 ประเมินการสอนโดยหลักสูตรจากแบบสอบถามออนไลน์
2.1 ให้นักศึกษาประเมินการสอนก่อนปิดภาคเรียน
3.1 นำผลการประเมินรายวิชาของนักศึกษาของปีการศึกษาที่ผ่านมา มาวิเคราะห์ร่วมกันกับอาจารย์ประจำหลักสูตรเพื่อให้ได้ข้อสรุปในการปรับปรุงรายวิชา
4.1 หลักสูตรแต่งตั้งคณะกรรมการและผู้ทรงคุณวุฒิเพืี่อทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา โดยการนำมคอ. ๓ มคอ. ๕ และข้อสอบ มาวิเคราะห์ และสรุปข้อเสนอแนะในการปรับปรุงรายวิชาให้อาจารย์ผู้สอนทราบเพื่อปรับปรุงให้ได้มาตรฐาน
5.1 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตรจัดประชุมหลังปิดภาคเรียน และนำผลการประเมินรายวิชาจาก ข้อ 1 และ ข้อ 2 มาวิเคราะห์เพื่อหาข้อบกพร่องมาแก้ไขปรับปรุง