ทฤษฎีทางวิศวกรรมเครื่องกล

Theory of Mechanical Engineering

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับ พลศาสตร์ของระบบอนุภาค พลศาสตร์ของวัตถุเกร็ง ระบบพลศาสตร์ พลศาสตร์เชิงวิเคราะห์ เทนเซอร์ความเค้น กฎสมดุล สมการควบคุมของพฤติกรรมวัสดุ สมการการถ่ายโอนของเรย์โนส์ สมการควบคุมของของไหล กลไกการถ่ายโอนมวล โมเมนตัมและพลังงาน การไหลแบบหนืดและการไหลแบบอัดตัวได้
เพื่อให้เนื้อหามีความสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและสังคมปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับ พลศาสตร์ของระบบอนุภาค พลศาสตร์ของวัตถุเกร็ง ระบบพลศาสตร์ พลศาสตร์เชิงวิเคราะห์ เทนเซอร์ความเค้น กฎสมดุล สมการควบคุมของพฤติกรรมวัสดุ สมการการถ่ายโอนของเรย์โนส์ สมการควบคุมของของไหล กลไกการถ่ายโอนมวล โมเมนตัมและพลังงาน การไหลแบบหนืดและการไหลแบบอัดตัวได้
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณคี่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 
2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทางานเป็นหมู่คณะและสามารถแก้ไขความขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิ์และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
4 สามารถประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล สังคม และสิ่งแวดล้อม  5 มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ 
1 ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกาที่กำหนดหรือได้ตกลงกันไว้ และ ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบ โดยเริ่มตั้งแต่การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา การทางานกลุ่มและการส่งงานตามกำหนดเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัยฯ 
2 ปลูกฝังเรื่องจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ ตลอดจนผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อบุคคล สังคม และสิ่งแวดล้อม หากกระทาการโดยขาดจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตามกำหนดระยะเวลา 
2 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง 
3 ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 
4 การกระทาทุจริตในการสอบ
1 มีความรู้และความเข้าใจทางทฤษฎีทางวิศวกรรมเครื่องกล
2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญเชิงทฤษฎีในเนื้อหาของรายวิชา
3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 
4 สามารถวิเคราะห์ปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น 
5 สามารถใช้ความรู้และทักษะที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชาในการแก้ไขปัญหาในงานจริงได้ 6สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการทางด้านปรากฎการณ์ถ่ายโอนรวมทั้งการนำไปประยุกต์ได้
 1 บรรยายโดยเขียนบนกระดานประกอบกับการอ้างอิงในหนังสือ ใช้สื่อการสอนทางอิเล็ก  ทรอนิกส์ ตลอดจนสื่อการสอนที่เป็นชิ้นงานจริง 
2 มอบหมายแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1 การทดสอบย่อย สอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน 
2 ประเมินจากแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญานที่ดี 
2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 
4 สามารถคิด วิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาเพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาทางด้านวิศวกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ  5 มีจินตนาการในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ 6 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อหาความรู้เพิ่มเติมและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
1 กรณีศึกษาทางการประยุกต์สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล  2 ให้นักศึกษาค้นคว้า จัดทารายงานทางเอกสารและนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน 
1 การทดสอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค
2 ประเมินจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย และการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาาาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม 
3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม 
4รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทางานตามที่มอบหมายทั้งงาน บุคคลและงานกลุ่ม  สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประวิทธิภาพ 
5 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
1 ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 
2 ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออก โดยการถามคาถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน  และการนาเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า 
3 ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น เพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของ  ผู้อื่นด้วยเหตุผล
1 ติดตามการทางานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็น  รายบุคคล 
2 ประเมินจากการนาเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน  3 ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น และการตอบคาถามระหว่างกิจกรรมการเรียน  การสอน
1 มีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ 
2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหา 
3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม 
4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ 
5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพ
 
1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน  E- Learning 
2 ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนาเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1 การทดสอบย่อย สอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน 
2 ประเมินจากเทคนิคการนาเสนอโดยการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่  เหมาะสม 
3 ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจากัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การ  อภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนาเสนอหน้าชั้นเรียน
1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2 มีทักษะในการออกแบบทางวิศวกรรม ซึ่งต้องใช้ทักษะพื้นฐานทางฝีมือและประสบการณ์การทางาน และฝึกทักษะการวิเคราะห์ปัญหาโดยใช้ความรู้เชิงลึกหรือหลักการทางวิศวกรรม
1 สาธิตการปฏิบัติงานโดยผู้เชียวชาญ 
2 .ให้ความสำคัญต่อการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ
1 สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานและการจดบันทึก 
2 พิจารณาผลการปฏิบัติงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 4 1 5 2 3 6 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 MENME131 ทฤษฎีทางวิศวกรรมเครื่องกล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ข้อที่ 1.2,1.4, การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตามกำหนดระยะเวลา ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ข้อที่ 3.1 ถึง 5.5 ประเมินจากรายงานและการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นและการตอบคำถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน ประเมินจากแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 ผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ข้อที่ 2.2, 2.3, 2.6, 3.1, 3.4, 3.5 1 ทดสอบย่อยก่อนสอบกลางภาค 2 สอบกลางภาค 3 ทดสอบย่อยก่อนสอบปลายภาค 4 สอบปลายภาค 1 ทดสอบย่อยก่อนสอบกลางภาค (ประเมินในสัปดาห์ที่ 4) 2 สอบกลางภาค (ประเมินในสัปดาห์ที่ 9) 3 ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 (ประเมินในสัปดาห์ที่ 12) 4 สอบปลายภาค (ประเมินในสัปดาห์ที่ 18) 1. ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 (5 %) 2. สอบกลางภาค (30 %) 3. ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 (5 %) 4. สอบปลายภาค (30 %)
1. Mase, G. T., Smelser, R.E., Rossmann, J.S. (2020) Continuum Mechanics for Engineers (4th Edition), Taylor & Francis.
2. Bird R. B., Stewart W.E., Lightfoot E.N. (2002) Transport Phenomena, John Wiley & Sons, Inc., New York. 3. วรงค์ ปวราจารย์  (2558) ปรากฏการณ์ถ่ายโอน (TRANSPORT PHENOMENA) สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บทความจากวารสารหรือที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติหรือระดับชาติอื่นๆ
ฐานข้อมูลทางสาขาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ จากสำนักพิมพ์ ACM Digital Library (Association for Computing Machinery) ฐานข้อมูล HW Wilsonครอบคลุมทุกสาขาวิชา ได้แก่ Applied Science & Technology, Art, Business, Education, General Science เป็นต้น ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม IEEE/IET Electronic Library (IEL)  ทางด้านสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ProQuest Dissertations and Theses Database ฐานข้อมูลที่รวบรวมวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท และปริญญาเอกของสถาบันการศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกา และแคนาดา รวมถึง บางสถาบันการศึกษาจากทวีปยุโรป ออสเตรเลีย เอเชีย และแอฟริกา Springer Link เป็นสำนักพิมพ์ชั้นนำที่ให้บริการเนื้อหาในสาขาวิชาหลักๆทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ ทางการแพทย์ Web of Science เป็นฐานข้อมูลอ้างอิง (Citation Database) ที่ให้ข้อมูลบรรณานุกรมพร้อมด้วยบทคัดย่อ รายการอ้างอิง (Cited Reference) และหัวข้ออ้างอิง (Citing Article) ซึ่งครอบคลุมในสาขาวิทยาศาสตร์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ ดังนี้  - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
 ผลการเรียนของนักศึกษา  - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้  - การสัมมนาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ให้ นศ. ประยุกต์ความรู้ที่เรียนกับการแก้โจทย์ปัญหาจริง
ตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น