นวัตกรรมและเทคโนโลยี

Innovation and Technology

1.1  เข้าใจการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวิวัฒนาการทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1.2  เข้าใจกระบวนการสร้างนวัตกรรมและเทคโนโลยี
1.3  สามารถสังเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ สังคม นวัตกรรม เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
1.4  สามารถวิเคราะห์ผลกระทบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม  
1.5  สามารถประเมินค่าประเด็นร่วมสมัยในด้านวิทยาศาสตร์ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อ
      อนาคต
1.6  สามารถการออกแบบนวัตกรรม
เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวิวัฒนาการทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  กระบวนการสร้างนวัตกรรมและเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์  สังคม  นวัตกรรม เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ผลกระทบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ประเด็นร่วมสมัยในด้านวิทยาศาสตร์ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่ออนาคต  ฝึกออกแบบนวัตกรรม
 
      Study changes in society and evolution of science and technology; process of creating innovation, technology, and environment; impacts of innovation and technology on society and environment; contemporary issues in sciences, innovation and future technology; practice in designing innovations.
3
    1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜ 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
š 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
     1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. การส่งรายงานตรงเวลา
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
      2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 ˜ 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
š 2.3 มีสามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. สอนแบบเป็นทีม
2. สอนแบบจิ๊กซอร์
3. ระดมสมอง
4. เรียนรู้แบบร่วมมือ
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. โครงงาน
š 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. สอนแบบเป็นทีม
2. ระดมสมอง
3. เรียนรู้แบบร่วมมือ
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. โครงงาน
   4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
   4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š 4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
พิจารณาจากการทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น หรือการค้นคว้าหาข้อมูล
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. โครงงาน
พฤติกรรมการแสดงออกในระหว่างดำเนินกิจกรรม
 
1. การนำเสนอผลงาน
2. รายงาน
3. โครงงาน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ดำเนินการสอนที่นักศึกษาต้อง ติดต่อสื่อสาร ค้นคว้าหาข้อมูลและนำเสนอผลงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ  สำหรับ
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. โครงงาน
ประเมินจากผลงานของนักศึกษาในระหว่างดำเนินกิจกรรม
 
 
1. การนำเสนอผลงาน
2. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
3. รายงาน
4. โครงงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 GEBIN102 นวัตกรรมและเทคโนโลยี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5%
2 1.2, 2.3, 3.2 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 1-15 10 %
3 2.3, 3.2, 4.3, 5.2 กรณีศึกษา 1 - 11 35%
4 2.3, 3.2, 4.3, 5.2 การนำเสนองาน/การรายงาน 1 - 11 20%
5 2.3, 3.2, 4.3, 5.2 โครงงาน 12 - 15 30 %
1. จุติพงศ์  ภูสุมาศ (แปล) (2558). 101 Design Methods : คู่มือสร้างนวัตกรรมให้เกิดขึ้นจริงในองค์กร พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : บ. ไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด
2. ณัฐยา   สินตระกรผล, วีระวุธ  มาฆะศิรานนาท์ (แปล) (2557) คู่มือสร้างนวัตกรรมใน 4 สัปดาห์ กรุงเทพฯ : บ. เอ๊กซเปอร์เน็ท จำกัด
3. รศ.ดร. มณฑลี  ศาสนนันทน์ (2552). การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ธรรมศาสตร์
4. ไชย ณ พล อัครศุภเศรษฐ์ (2550). การสร้างสรรค์นวัตการ เพื่อศักยภาพการแข่งขันสู่โลกอนาคต กรุงเทพฯ : บ. เคล็ดไทย
5. กีรติ  ยศยิ่งยง (2552). องค์กรแห่งนวัตกรรม : แนวคิดและกระบวนการ พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
6. ปรีดา  ยังสุขสถาพร (2549). I5 พลวัตนวัตกรรม พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เอกสารประกอบการเรียนการสอน “นวัตกรรมและเทคโนโลยี”  โดย คณาจารย์ผู้สอน 
     ใบงานกิจกรรมเทคนิคและวิธีการสร้างนวัตกรรม
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย
กำหนดให้มีการประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอนซึ่งมีหน้าที่สังเกตการณ์สอน ซึ่งคณะกรรมการฯ จะถูกแต่งตั้งโดย ประธานกลุ่มวิชาศึกษาทั่วไป
กลุ่มวิชาศึกษาทั่วไปได้มีวิธีการปรับปรุงการสอน อาทิ มีการประชุมกลุ่มผู้สอนเพื่อกำหนดเป้าหมายของการจัดการเรียนการสอนในแต่ละเทอม  มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเขตพื้นที่เพื่อรับทราบปัญหาและอุปสรรคเพื่อพัฒนาปรับปรุงคุณภาพการจัดการเรียนการสอน  การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน   เป็นต้น
ยังไม่ได้ดำเนินการ
หลังจากสิ้นสุดปีการศึกษา  ทางกลุ่มวิชาศึกษาทั่วไปได้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียน การสอน  โดยจะมีการศึกษาดูงานที่ มหาวิทยาลัยต่างๆ  มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทั้งภายในมหาวิทยาลัยและนอกมหาวิทยาลัย  รวมไปถึงการรับทราบปัญหาและอุปสรรค์  แนวทางปฏิบัติที่ดีในการจัดการเรียนการสอน  เพื่อนำมาเป็นต้นแบบในการปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา