การจัดการของเสียทางชีวภาพ

Biological Waste Management

1.  เพื่อให้นักศึกษาได้ทราบแหล่งที่มาของของเสียแบบต่างๆเช่น แหล่งที่มาของขยะ  แหล่งที่มาของนำ้เสีย และอื่นๆ  เป็นต้น 
2.  เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้วิธีการจัดการของเสียแต่ละประเภท เช่น  ระบบบำบัดน้ำเสีย  วิธีการจัดการขยะจากชุมชน การนำของ
     เสียไปเป็นพลังงาน และอื่นๆ  เป็นต้น
3.  เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้  กระบวนการ  การจัดการในแต่ละแบบ เพื่อลดการเกิดของเสียให้เหลือน้อยที่สุด เช่น กระบวนการเกิดขึ้นของแกสชีวภาพ  พลังงานจากขยะ เป็นต้น
4.  เพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดีและการควบคุมปริมาณของเสีย อีกทั้งสร้างความตระหนักให้กับนักศึกษาในการรักษาสิ่งแวดล้อม
5.  เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

          
 การพัฒนาปรับปรุงรายวิชาในครั้งต่อไป
       1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน นำไปการจัดการของเสีย ทั้งในชุมชนและอุตสาหกรรม         
       2. วิเคราะห์สภาพปัญหา และวางแนวทางป้องกัน   การปรับปรุงการเรียนอาจจะต้องปรับปรุงเนื้อหาเรียนลึกลงไป  เช่นการทำแกสจากมูลสัตว์ พลังงานจากขยะ เป็นต้น
ศึกษาเกี่ยวกับ ปัญหาและแหล่งที่มาของของเสียและมลพิษ  ชลศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับน้ำเสีย  วิธีบำบัดของเสีย  การขนถ่ายและจัดเก็บของเสีย  ก๊าซชีวภาพจากของเสีย  ขยะมูลฝอย  วิธีการกำจัด  กฎหมายที่เกี่ยวข้องด้านการกำจัด  การจัดการของเสียและพลังงาน   การสร้างจิตสำนึกที่ดี  และการควบคุมปริมาณของเสีย
3 ชั่วโมง
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของส่วนบุคคล มีความซื่อสัตย์ในวิชาชีพอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
                 1. ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต
                 2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม
                 3. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
                 4. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตในสังคม เช่น มงคล 38 เป็นต้น
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
การมีสมาธิและการเอาใจใสต่อการเรียน  การกระตือรือร้นในการค้นหาความรู้
           ศึกษาเกี่ยวกับ ปัญหาและแหล่งที่มาของของเสียและมลพิษ  ชลศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับน้ำเสีย  วิธีบำบัดของเสีย  การขนถ่ายและจัดเก็บของเสีย  ก๊าซชีวภาพจากของเสีย  ขยะมูลฝอย  วิธีการกำจัด  กฎหมายที่เกี่ยวข้องด้านการกำจัด  การจัดการของเสีย  การสร้างจิตสำนึกที่ดี  และการควบคุมปริมาณของเสีย
 


ประโยชน์ที่ผู้เรียนได้รับ
1. มีความรู้ทางวิชาการด้านต่าง ๆ ที่น่าสนใจเพิ่มมากขึ้น 2. สามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการเรียนไปใช้ในการประกอบอาชีพและการพัฒนาวิชาชีพของตน 3. นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนอย่างมีคุณภาพ 4. ได้ทดสอบความสามารถของตน ในการเรียน  




   
บรรยายและปฏิบัติ   การทำงานกลุ่ม และมอบหมายให้ค้นหา ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง   การศึกษาดูงานและนำเสนอ หรือ ถามความรู้ที่ได้รับ
ทดสอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
พัฒนาความรู้ มีการวิเคราะห์ ปัญหาจากการของเสีย   การแก้ปัญหา   การสร้างจิตสำนึก  เป็นต้น
   1) ปฏิบัติหรือการบรรยาย เรื่องที่เกี่ยวข้อง
    2) มอบหมายงาน ทั้งทฤษฏีและปฏิบัติ
    3) ศึกษาดูงาน
 
 
    1) สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่ หลักการ ประโยชน์ ปัญหาและการแก้ไข
    2) งานที่มอบหมาย
   1) พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
   2) พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
 มอบหมายงาน ทั้งทฤษฏีและปฏิบัติงานกลุ่ม
ประเมินจากรายงาน
   พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต  ประกอบการทำรายงาน
    บรรยาย  ศึกษาดูงาน  และ มอบหมายงาน ทั้งทฤษฏีและปฏิบัติ 
สอบกลางภาค  ปลายภาค  งานที่มอบหมาย
มอบหมายงานด้านแกสชีวภาพ  ปุ๋ยหมัก  น้ำหมักชีวภาพและ อื่นๆ
บรรยายและปฏิบัติ
ตรวจงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGAG306 การจัดการของเสียทางชีวภาพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ทุกหน่วยเรียน สอบกลางภาค สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 8 และ 17 สอบกลางภาค 30 สอบปลายภาค 40
2 ค้นคว้า รายงาน แบบฝึกหัด เนื้อหาของงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ความตั้งใจทำงาน ส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 20 %
3 จิตพิสัย การเข้าชั้นเรียน มาเรียนตามเวลา การส่งงานตามเวลา การแต่งตัวที่เหมาะสม ตลอดภาคการศึกษา 10 %
หน่วยที่  1  ที่มา  ://www.pcd.go.th/info_serv/water_wt.html
หน่วยที่  2  ที่มา  http://www.pcd.go.th/info_serv/water_wt.html
หน่วยที่ 3  ที่มา   [PDF]ระบบการจัดการ กากอุตสาหกรรม - สภาวิศวกร                        www.coe.or.th/coe-2/Download/Articles/ENV/CH10.pdf
หน่วยที 4 ที่มา    [PDF]ระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ (1) - พลังงาน ทดแทน                         www2.dede.go.th/km_ber/Attach/Biogas-present.pdf
หน่วยที่ 5 ที่มา   http://www.pcd.go.th/info_serv/waste_garbage.html
หน่วยที่ 6  ที่มา   http://www.pcd.go.th/info_serv/reg_relatedlaw.html
หน่วยที่ 7  ที่มา  www.industry.go.th/industry/ index.php/th/
              ที่มา http://www.pcd.go.th/info_serv/haz_community.html#s4
หน่วยที่ 8  ที่มา    http://info.gotomanager.com/news/details.aspx?id=82141
              ที่มา https://sites.google.com/a/nareerat.ac.th/segregated/page10
              ที่มา  http://songchai.rwb.ac.th/a14/14-3.htm
 
 
 
 
ไม่มี  เนื่องจากเป็นปีแรก
ไม่มี  เนื่องจากเป็นปีแรก
ไม่มี  เนื่องจากเป็นปีแรก
ไม่มี  เนื่องจากเป็นปีแรก