นันทนาการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ
Recreation for Health Promotion
อธิบายความรู้เกี่ยวกับนันทนาการ และประเภทของนันทนาการ
อธิบายความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
สามารถเป็นผู้นำนันทนาการ และ ผู้ตามในกิจกรรมนันทนาการต่าง ๆ
สามารถเลือกกิจกรรมนันทนาการเพื่อส่งเสริมสุขภาพได้อย่างเหมาะสมกับวัยและความสนใจ
สามารถวางแผนและบริหารจัดการกิจกรรมนันทนาการต่าง ๆ ได้
ตระหนักในคุณค่าของกิจกรรมนันทนาการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ และสามารถนำไปพัฒนาร่างกาย จิตใจอารมณ์ สังคม และสติปัญญา
เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับนันทนาการ ประเภทของกิจกรรมนันทนาการ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ
การเป็นผู้นำนันทนาการ การวางแผน และการบริหารจัดการโครงการนันทนาการต่าง ๆ ตลอดจนการเลือกกิจกรรมนันทนาการเพื่อส่งเสริมสุขภาพตามความเหมาะสมกับวัยและความสนใจ
Enhance the knowledge relating to types of recreation activities and health promotion, the recreation leadership, administrative and planning project recreational activities program, able to choose recreational activities to promote health as appropriate for age and interests.
Enhance the knowledge relating to types of recreation activities and health promotion, the recreation leadership, administrative and planning project recreational activities program, able to choose recreational activities to promote health as appropriate for age and interests.
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
Brainstorming
2. Co – operative Learning
2. Co – operative Learning
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม
2. การตอบสถานการณ์จำลอง
3. การส่งงานตรงเวลาและการเข้าชั้นเรียน
4. การแสดงความเคารพต่อสถานที่
2. การตอบสถานการณ์จำลอง
3. การส่งงานตรงเวลาและการเข้าชั้นเรียน
4. การแสดงความเคารพต่อสถานที่
มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
Co – operative learning
Questioning Method
การสอบวัดความรู้
มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
Team Base Learning
Jigsaw Teaching
Brainstorming
การนำเสนอหน้าชั้นเรียน
การนำเสนอโครงการและจัดการนันทนาการต่าง ๆ
มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ แก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
Project Method
Brainstorming
Simulation
Practice
การแสดงออกและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม
โครงงาน
สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Jigsaw Teaching
Brainstorming
การแสดงออกและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม
การนำเสนอผลงานของที่เชื่อมโยงกัน
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | คุณธรรมจริยธรรม | การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน | 1-17 | 320 |
2 | 1. ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 2. ทักษะพิสัย | การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน | 1-17 | 40 |
3 | ความรู้ | -การสอบกลางภาค - การสอบปลายภาค | 9 | 20 |
4 | ทักษะทางปัญญา | การนำเสนองาน/การรายงาน | 12-16 | 20 |
นันทนาการ
การส่งเสริมสุขภาพ
เกมนันทนาการ
ค่ายพักแรม
การละเล่นพื้นบ้าน
http://www.healthsecrecy.com/
http://www.thaihealth.or.th/
http://www.prapayneethai.com
http://www.dpe.go.th/
http://thainantakan.igetweb.com/index.php
http://rc.rangforever.com/sub.php?sub=1
http://www.healthcarethai.com/
https://www.dmh.go.th/apps/
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน
ให้นักศึกษาเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย
แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินการสอน หรือทีมผู้สอน หรือผลการเรียนของนักศึกษา
ประชุมผู้สอนและนำผลการประเมินของนักศึกษามาปรับปรุงการสอน หรือ ทำวิจัยในชั้นเรียน การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
แต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา เช่น ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบหรืองานที่มอบหมาย หรือสำหรับมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้าน
นำผลการประเมิน และ ข้อเสนอแนะของนักศึกษามาปรับปรุงการเรียนการสอนในครั้งต่อไป