การฝึกงานทางวิศวกรรมไฟฟ้า

Electrical Engineering Practice

รายวิชาการฝึกงานทางวิศวกรรมไฟฟ้า จะเป็นการจัดให้นักศึกษาได้บูรณาการความรู้ที่ได้ศึกษามาทั้งหมด เพื่อประยุกต์กับการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ จะเป็นการเพิ่มพูนประสบการณ์ตรง การทํางานเป็นทีม เป็นการเตรียมความพร็อมและการปรับตัวให็สามารถทํางานได็จริงเมื่อสําเร็จการศึกษา
          จุดมุ้งหมายของประสบการณ์ภาคสนาม เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถ
          - เชื่อมโยงความรู้ทางทฤษฎีกับการประยุกต์ให้เกิดผลทางปฏิบัติ
          - เข้าใจกระบวนการ ขั้นตอนและวิธีการนําความรู้ด้านวิศวกรรมมาใช้ในการทํางาน
          - เรียนรู้และฝึกประสบการณ์การพัฒนาระบบทางวิศวกรรมจากสภาพแวดล้อมจริง
          - เข้าใจชีวิตการทํางานและวัฒนธรรมองค์กร
          - ปรับตัวให้เข้ากับผู้อื่น และสามารถทํางานร่วมกันได้
(1) เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
          (2) มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กร
และสังคม
          (3) มีภาวะความเปฝ้นผู้นําและผู้ตาม สามารถทํางานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลําดับความสําคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
          (4) สามารถวิเคราะหและประเมินผลกระทบจากการใชความรูทางวิศวกรรมตอบุคคล องคกร สังคมและสิ่งแวดลอม
          (5) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผูประกอบวิชาชีพ รวมถึงเขาใจ
ถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแตละสาขา ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน
          - ปฐมนิเทศนักศึกษาถึงระเบียบ วินัย คุณธรรม ที่พึงปฏิบัติกอนการฝกงาน
          - กําหนดตารางเวลาฝกงาน บันทึกเวลาฝกงานกําหนดขอบเขตของงาน กําหนดวิธีการประเมินผลงาน
          - มอบหมายงาน กําหนด ติดตามและควบคุมใหนักศึกษาปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถานประกอบการ  เชนเดียวกับพนักงานขององคกร
          - ประเมินผลการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง
- นักศึกษาประเมินการเรียนรูดวยตนเอง โดยใชแบบสอบถามมาตรฐานที่วัดคุณธรรม จริยธรรม
          - ประเมินโดยพนักงานพี่เลี้ยง หรือพนักงานควบคุมการฝกงาน จากการสังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกระหวางฝกงาน โดยมีการบันทึกผลการประเมิน และมีหลักฐานแจงใหนักศึกษาทราบดวยทุกครั้ง
          - ประเมินความซื่อสัตยจากการพูดคุย สัมภาษณเพื่อนรวมงาน หัวหนางาน และผูเกี่ยวของ พรอมมีรายงานผลการฝกงานประกอบ
(1) มีความรูและความเขาใจทางคณิตศาสตรพื้นฐาน วิทยาศาสตรพื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตรเพื่อการประยุกตใชกับงานทางดานวิศวกรรมศาสตรที่เกี่ยวของ และการสรางนวัตกรรม
ทางเทคโนโลยี
          (2) มีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับหลักการที่สําคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชา
เฉพาะดานทางวิศวกรรม
          (3) สามารถบูรณาการความรูในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรูในศาสตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ
          (4) สามารถวิเคราะหและแกไขปญหา ดวยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกตใชเครื่องมือที่เหมาะสม
เชน โปรแกรมคอมพิวเตอรเปนตน
          (5) สามารถใชความรูและทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกตแกไขปญหาในงานจริงได
- สถานประกอบการที่ฝกงาน จัดพนักงานพี่เลี้ยงใหคําแนะนําเครื่องมือ อุปกรณที่จําเปนในการปฏิบัติงานตามหนาที่ บอกถึงแหลงขอมูลเพื่อใหนักศึกษาไดคนควาขอมูลเพื่อการทํางานไดดวยตนเอง
          - ใชเครื่องมือ อุปกรณที่มีในหนวยงานเพื่อการปฏิบัติงานจริงภายใตการดูแลของพนักงานพี่เลี้ยง
          - จัดประชุม แบงงาน ติดตามงาน เปนระยะเวลาที่กําหนด หรือตามความเหมาะสม
- ประเมินจากผลการปฏิบัติงาน โดยผูเกี่ยวของ เชน ผูใชงานระบบสารสนเทศ พนักงานพี่เลี้ยงอาจารยนิเทศ
          - ประเมินผลจากการทํางานรวมกับผูอื่น
          - ประเมินผลจากการตรงตอเวลาในการสงงาน และความสมบูรณของงานที่ไดรับมอบหมาย โดยกําหนดแบบฟอรมบันทึกการสงงาน
(1) มีความคิดอยางมีวิจารณญาณที่ดี
          (2) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะหและ สรุปประเด็นปญหาและความตองการ
          (3) สามารถคิด วิเคราะหและแกไขปญหาดานวิศวกรรมไดอยางมีระบบ รวมถึงการใชขอมูลประกอบการตัดสินใจในการทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ
          (4) มีจินตนาการและความยืดหยุนในการปรับใชองคความรูที่เกี่ยวของอยางเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือตอยอดองคความรูจากเดิมไดอยางสรางสรรค
          (5) สามารถสืบคนขอมูลและแสวงหาความรูเพิ่มเติมไดดวยตนเอง เพื่อการเรียนรูตลอดชีวิต และทันตอ
การเปลี่ยนแปลงทางองคความรูและเทคโนโลยีใหม ๆ
- การมอบหมายโจทยปญหา ใหฝกการคนหาความตองการ และวิเคราะหผลความตองการ
          - จัดทํารายงานผลวิเคราะหความตองการ และนําเสนอ
          - ประชุมและนําเสนอผลลัพธจากโจทยปญหารวมกันระหวางพนักงานพี่เลี้ยง อาจารยที่ปรึกษา และนักศึกษาฝึกงาน สม่ำเสมอและตอเนื่อง
- ประเมินผลจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย ตามหัวข้อที่กําหนด โดยอ้างอิงทฤษฎีในวิชาที่เกี่ยวข้องและควรนํามาเป็นพื้นฐานในการทํางาน
(1) สามารถสื่อสารกับกลุมคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศไดอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใชความรูในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารตอสังคมไดในประเด็นที่เหมาะสม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล