การบัญชีต้นทุน
Cost Accounting
เพื่อศึกษาและปฏิบัติวัตถุประสงค์ ความสำคัญและบทบาทการบัญชีต้นทุนในองค์กรธุรกิจ ความหมายของต้นทุนต่าง ๆ ระบบบัญชีที่ใช้บันทึกต้นทุน วิธีการบัญชีและการควบคุมเกี่ยวกับวัตถุดิบ ค่าแรงงาน ค่าใช้จ่ายการผลิต ระบบบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ ระบบการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต วิธีการบัญชีเกี่ยวกับของเสีย ของสิ้นเปลือง งานที่บกพร่อง เศษซาก การบัญชีต้นทุนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ผลต่างการบัญชีต้นทุนผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้ การปันส่วนต้นทุนการผลิตและการบัญชีต้นทุนฐานกิจกรรม
1. เพื่อพัฒนาความสามารถของนักศึกษาในเรื่องการศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการและวิธีการ บันทึกบัญชีเกี่ยวกับระบบบัญชีที่ใช้บันทึกต้นทุน
2. เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดในมาตรฐานผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน
3. เพื่อสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตรในด้านที่ 2 ผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติที่มีความรู้
2. เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดในมาตรฐานผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน
3. เพื่อสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตรในด้านที่ 2 ผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติที่มีความรู้
นักศึกษาสามารถเข้าพบได้ตามตารางเวลาให้นักศึกษาเข้าพบ โดยประมาณ 5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบัน และสังคม
ให้ความสำคัญในการมีวินัย การตรงต่อเวลา การปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัยฯ โดยมีการเช็คชื่อนักศึกษาก่อนเรียน กำหนดให้นักศึกษาแต่งกายให้เรียบร้อยตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ
ประเมินผลโดยการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา ในการเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา การแต่งกาย การส่งงานตามกำหนดและการเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชา
มีความรู้และเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการทางการบัญชี
อธิบายถึงแนวคิด และ ทฤษฎี เกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน ระบัญชีต้นทุนและการจัดทำงบการเงิน ส่วนประกอบที่สำคัญของต้นทุนการผลิตอาทิเช่น การบัญชีเกี่ยวกับวัตถุดิบการบัญชีเกี่ยวกับค่าแรงงาน และการบัญชีเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายการเผลิตและระบบต้นทุนฐานกิจกรรม การบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ การบัญชีต้นทุนกระบวนการ การบัญชีต้นทุนมาตรฐาน รวมถึงการบัญชีและการตัดสินใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้
ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย การทดสอบย่อย
สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตัวเอง
กำหนดให้นักศึกษา บันทึกบัญชีต้นทุน มาความสามารถแยกส่วนประกอบการผลิต ในแต่ละประเภท ได้อย่างแม่นยำ ตลอดจนสามารถจัดทำรายงานทางการเงินได้ถูกต้อง ครบถ้วน และสามารถวิเคราะห์ระบบต้นทุนของกิจการที่ดำเนินธุรกิจในรูปแบบต่าง ๆ ได้
ทดสอบโดยแบบฝึกหัด , กรณีศึกษา
-
-
-
ทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง
จากการที่กำหนดให้นักศึกษาจัดทำรายงานต้นทุนการผลิต โดยในการจัดทำรายงานนั้น นักศึกษาจะต้องทำการสอบถามผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน ในส่วนของข้อมูลดิบ ที่เกี่ยวกับต้นทุนการผลิต โดยทำการจัดทำเก็บข้อมูลที่ไปสอบถามมา โดยบันทึกข้อมูลใส่ลงใน คลิปวีดีโอ เพื่อความครบถ้วน ในการจัดเก็บข้อมูล และส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสานสนเทศ ให้เกิดประโยชน์ ต่อนักศึกษา จากนั้น จะนำมาประเมินผลภายในกลุ่ม ถึงความถูกต้องของข้อมูลที่ได้มา และจัดทำต้นทุนการผลิต โดยใช้มูลเดิม รวมกับข้อมูลที่ต้องเพิ่มเติมไป เพื่อให้ครบถ้วน ในส่วนของต้นทุนการผลิตที่ถูกต้องตามหลักการบัญชี ออกมาเป็นการจัดทำงบต้นทุนการผลิต งบกำไรขาดทุน และงบแสดงฐานะการเงินของวิสาหกิจชุมชนต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
ซีดี การบันทึกการเก็บข้อมูล และ รายงานต้นทุนการผลิตของวิสาหกิจชุมชนต่าง ๆ
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะในการิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.1 | 1.2 | 1.3 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 3.3 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
1 | BACAC123 | การบัญชีต้นทุน |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ด้านคุณธรรม จริยธรรม | ประเมินผลจากรายงานที่นักศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติม - ประเมินผลจากการส่งงานตามกำหนด - ประเมินผลจากการทำแบบทดสอบ ก่อนเรียนและหลังเรียน | 1,5,12,13 | 10 % |
2 | ด้านความรู้ | การทดสอบย่อย 2 ครั้ง การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค | 3 และ 13 9 18 | 60% |
3 | ด้านทักษะทางปัญญา | การสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียนตามข้อตกลง การส่งงาน ความรับผิดชอบ ความตรงต่อเวลา ความเอาใจใส่ในผลงาน พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน - การเข้าห้องเรียน - การส่งงาน (แบบฝึกหัด) /การแต่งกาย - ความสามารถในการบริหารงานที่มอบหมาย (ความสามารถในการการจัดการเล่มรายงานให้มีความสมบูรณ์แบบ (เนื้อหา และรูปแบบ) โดยแบ่งเป็นงานค้นคว้าเกี่ยวกับ การมีส่วนร่วมของหลักสูตรและมหาวิทยาลัย | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
4 | - | - | - | - |
5 | ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี | รายงาน และ การนำเสนอหน้าชั้นเรียน ประเมินจากแบบฝึกหัดและ กรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 20 % |
หนังสือตำราสอน รศ.สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์
เอกสารประกอบการสอนวิชาการบัญชีต้นทุน
เอกสารประกอบการสอนวิชาการบัญชีต้นทุน
- เว็บไซด์สภาวิชาชีพบัญชี
www.Set.or.th
www.Tfac.or.th
วารสารนักบัญชี
วารสารนักบัญชี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ติดตามผลการมอบหมายงานของนักศึกษาแต่ละกลุ่มเป็นระยะ เพื่อให้เกิดความก้าวหน้าและปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในการทำงาน ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน ผลการเรียนของนักศึกษา การทวนสอบผลประเมินความรู้ ติดตามผลการมอบหมายงานของนักศึกษาแต่ละกลุ่มเป็นระยะ เพื่อให้เกิดความก้าวหน้าและปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในการทำงาน
หลังจากผลการประเมนิการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมการระดมสมอง
และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ สัมมนาการจัดการเรียนการสอน การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ สัมมนาการจัดการเรียนการสอน การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ
เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อยและหลังการออกผลการเรียนรายวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนความพฤติกรรม
เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อยและหลังการออกผลการเรียนรายวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนความพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 การเปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ