การฝึกงานทางวิศวกรรมอุตสาหการ
Industrial Engineering Practice
เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับงานทางด้านวิศวกรรมอุตสาหการ ภายใต้การควบคุมดูแลของวิศวกรพี่เลี้ยง โดยมีเวลาการฝึกงานอย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 240 ชั่วโมงทำงาน
เพื่อให้นักศึกษามีโอกาสได้นำความรู้ทางวิชาการที่ได้ศึกษาไปฝึกทดลองก่อนที่จะไปประกอบอาชีพจริงๆ และยังเปิดโอกาสให้นักศึกษาพัฒนาบุคลิกภาพ ทัศนคติ ความเจริญเติบโตในอาชีพธุรกิจ
ปฏิบัติงานฝึกงาน โดยนาความรู้จากสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ ไปประยุกต์ใช้ในสถานประกอบการทางด้านวิศวกรรมอุตสาหการอย่างมีระบบ โดยมีวิศวกรที่ปรึกษา หรือผู้ชำนาญการของสถานประกอบการจริงทำหน้าที่ควบคุมดูแล และนักศึกษาจะต้องมีหน้าที่รับผิดชอบที่แน่นอนไม่น้อยกว่า 240 ชั่วโมงทั้งนี้นักศึกษาจะต้องสามารถสรุปโครงการและหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสถานประกอบการนั้นๆ อย่างเป็นรูปธรรม และมีการจัดทำรายงานการปฏิบัติงาน มีการประเมินผลงานร่วมกันจากทางสถานประกอบการ และคณาจารย์ เพื่อให้นักศึกษาได้มีประสบการณ์จริง ก่อนสำเร็จการศึกษา
นักศึกษาสามารถสอบถามหรือปรึกษากับอาจารย์ผู้รับผิดชอบการนิเทศ หรือสอบถามจากอารย์ในสาขาที่มีความชำนาญในประเด็นปัญหาที่นักศึกษาเกิดความสงสัยหรือต้องการความรู้เพิ่มเติมเพื่อนำมาประยุกต์ใช้ระหว่างการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรือโทรศัพท์เพื่อขอคำปรึกษา
1.1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลาดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจ
ถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลาดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจ
ถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.2.1 ติดตามผลและปรึกษาการฝึกปฏิบัติของนักศึกษา กับวิศวกรพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ
1.2.2 แนะนำให้คำปรึกษาหารือร่วมกับนักศึกษาฝึกงาน ให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่วิทยาเขตฯ ได้กำหนดไว้
1.2.2 แนะนำให้คำปรึกษาหารือร่วมกับนักศึกษาฝึกงาน ให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่วิทยาเขตฯ ได้กำหนดไว้
1.3.1 ประเมินผลจากการออกนิเทศนักศึกษาในสถานประกอบการ
1.3.2 ประเมินผลจากรายงานการฝึกงานของนักศึกษา
1.3.3 ประเมินผลจากรายงานการฝึกงานของนักศึกษาจากสถานประกอบการ
1.3.2 ประเมินผลจากรายงานการฝึกงานของนักศึกษา
1.3.3 ประเมินผลจากรายงานการฝึกงานของนักศึกษาจากสถานประกอบการ
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรมอุตสาหการ
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
2.1.5 สามารถใช้ความรู้ และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรมอุตสาหการ
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
2.1.5 สามารถใช้ความรู้ และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
2.2.1 ติดตามผลและปรึกษาการฝึกปฏิบัติของนักศึกษา กับวิศวกรพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ
2.2.2 แนะนาให้คาปรึกษาหารือร่วมกับนักศึกษาฝึกงาน ให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่ วิทยาเขตฯ ได้กำหนดไว้
2.2.2 แนะนาให้คาปรึกษาหารือร่วมกับนักศึกษาฝึกงาน ให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่ วิทยาเขตฯ ได้กำหนดไว้
2.3.1 ประเมินผลจากการออกนิเทศนักศึกษาในสถานประกอบการ
2.3.2 ประเมินผลจากรายงานการฝึกงานของนักศึกษา
2.3.3 ประเมินผลจากรายงานการฝึกงานของนักศึกษาจากสถานประกอบการ
2.3.2 ประเมินผลจากรายงานการฝึกงานของนักศึกษา
2.3.3 ประเมินผลจากรายงานการฝึกงานของนักศึกษาจากสถานประกอบการ
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.2.1 ติดตามผลและปรึกษาการฝึกปฏิบัติของนักศึกษา กับวิศวกรพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ
3.2.2 แนะนาให้คาปรึกษาหารือร่วมกับนักศึกษาฝึกงาน ให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่มหา
วิทยาลัยกำหนดไว้
3.2.2 แนะนาให้คาปรึกษาหารือร่วมกับนักศึกษาฝึกงาน ให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่มหา
วิทยาลัยกำหนดไว้
3.3.1 ประเมินผลจากการออกนิเทศนักศึกษาในสถานประกอบการ
3.3.2 ประเมินผลจากรายงานการฝึกงานของนักศึกษา
3.3.3 ประเมินผลจากรายงานการฝึกงานของนักศึกษาจากสถานประกอบการ
3.3.2 ประเมินผลจากรายงานการฝึกงานของนักศึกษา
3.3.3 ประเมินผลจากรายงานการฝึกงานของนักศึกษาจากสถานประกอบการ
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นเหมาะสม
4.1.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ
4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทางานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นาและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.1.5 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.1.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ
4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทางานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นาและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.1.5 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.2.1 ติดตามผลและปรึกษาการฝึกปฏิบัติของนักศึกษา กับวิศวกรพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ
4.2.2 แนะนาให้คำปรึกษาหารือร่วมกับนักศึกษาฝึกงาน ให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่ มหาวิทยาลัยกำหนดไว้
4.2.2 แนะนาให้คำปรึกษาหารือร่วมกับนักศึกษาฝึกงาน ให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่ มหาวิทยาลัยกำหนดไว้
4.3.1 ประเมินผลจากการออกนิเทศนักศึกษาในสถานประกอบการ
4.3.2 ประเมินผลจากรายงานการฝึกงานของนักศึกษา
4.3.3 ประเมินผลจากการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
4.3.2 ประเมินผลจากรายงานการฝึกงานของนักศึกษา
4.3.3 ประเมินผลจากการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
5.1.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สาหรับการทางานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5.1.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5.1.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1 ติดตามผลและปรึกษาการฝึกปฏิบัติของนักศึกษา กับวิศวกรพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ
5.2.2 แนะนาให้คำปรึกษาหารือร่วมกับนักศึกษาฝึกงาน ให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่มหาวิทยาลัยกำหนดไว้
5.2.2 แนะนาให้คำปรึกษาหารือร่วมกับนักศึกษาฝึกงาน ให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่มหาวิทยาลัยกำหนดไว้
5.3.1 ประเมินผลจากการออกนิเทศนักศึกษาในสถานประกอบการ
5.3.2 ประเมินผลจากรายงานการฝึกงานของนักศึกษา
5.3.2 ประเมินผลจากรายงานการฝึกงานของนักศึกษา
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.2.1 มอบหมายงานให้นักศึกษาและกำหนดระยะเวลาในการส่งงาน
6.3.1 นักศึกษาส่งงานตามระยะเวลาที่กำหนด
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1-1.5,2.1-2.5 , 3.1-3.5,4.1-4.5,5.1-5.5,6.1-6.2 | ประเมินผลจากการออกนิเทศและติดตามผล | ตลอดภาคการศึกษา | ผ่าน/ไม่ผ่าน |
ไม่มี
เอกสารรายงานการปฏิบัติงานภาคสนามของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการฝึกประสบการณ์ภาคสนามศึกษา
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ไม่มี
ไม่มี
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะ
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
นำข้อมูลที่ได้จากการนิเทศ และข้อมูลจากข้อ 4 มาพิจารณาเพื่อหาแนวทางการปรับปรุง โดยผ่านการประชุมของทางคณะวิศวกรรมศาสตร์