ปฏิบัติงานซ่อมและบำรุงรักษาไฟฟ้า

Electrical Maintenance Practice

   เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจ การฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้และบำรุงรักษาเครื่องมือ  การซ่อมบำรุงเครื่องใช้ไฟฟ้า บำรุงรักษาระบบไฟฟ้าภายในและนอกอาคาร การเขียนรายงาน ผลการปฏิบัติงานและแผนการบำรุงรักษา
  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้กี่ยวกับการใช้และบำรุงรักษาเครื่องมือ  การซ่อมบำรุงเครื่องใช้ไฟฟ้า บำรุงรักษาระบบไฟฟ้าภายในและนอกอาคาร การเขียนรายงาน ผลการปฏิบัติงานและแผนการบำรุงรักษา
               ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้และบำรุงรักษาเครื่องมือ  การซ่อมบำรุงเครื่องใช้ไฟฟ้า บำรุงรักษาระบบไฟฟ้าภายในและนอกอาคาร การเขียนรายงาน ผลการปฏิบัติงานและแผนการบำรุงรักษา
3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
อาจารย์สามารถให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษา โดยสามารถปรึกษาอาจารย์ได้ผ่านช่องทางใดทางหนึ่งดังต่อไปนี้
1. ให้คำปรึกษานักศึกษาแบบ Face to Face ให้นักศึกษาสามารถเข้ามาปรึกษาอาจารย์ในห้องพักครู ในช่วงเวลาหลังเลิกเรียนในรายวิชาเพื่อให้คำปรึกษาสำหรับนักศึกษารายบุคคลที่มีปัญหา 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
2. ให้คำปรึกษานักศึกษาผ่าน Social Media โดยการตั้งกลุ่มสนทนา ซึ่งมีสมาชิกในกลุ่มที่ประกอบด้วยอาจารย์และนักศึกษา และให้คำปรึกษาผ่านแอพลิเคชันต่างๆ เช่น Line, Facebook เป็นต้น โดยจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ
3. ให้คำปรึกษานักศึกษาผ่านทางโทรศัพท์ โดยสามารถโทรศัพท์เพื่อปรึกษาอาจารย์ประจำวิชาได้เป็นรายบุคคล
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม ( š )
         1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ ( š )
         1.1.3 มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม ( ˜ )
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ( š )
1.2.1 บรรยาย ยกตัวอย่างกรณีศึกษา และร่วมวิเคราะห์ เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพเกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
          1.2.2 สร้างข้อตกลงเกี่ยวกับเรื่องวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด การแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง
          1.2.3  ผู้สอนปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างที่ดีในด้านคุณธรรม จริยธรรมกับผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน
1.3.1   มีการให้คะแนนการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งงาน
          1.3.2   หากมีการกระทำทุจริตในการสอบถูกตัดคะแนน
          1.3.3   มีการให้คะแนนคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษาและการมีจรรยาบรรณในการอ้างอิงที่ไปที่มาของเอกสารที่เกี่ยวข้องกับงาน
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา ( ˜ )
          2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา ( š )
          2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ( š )
 
2.2.1 บรรยายเนื้อหาทางทฤษฎีและหลักการที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
          2.2.2 มอบหมายงานค้นคว้า ทำรายงาน ติดตามความก้าวหน้าของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
          2.2.3 ร่วมวิเคราะห์แนวทางในการบูรณาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาในศาสตร์ของสาขาวิชาที่เรียน
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดความรู้ ความเข้าใจ
2.3.2 ประเมินผลรายงานและการนำเสนอรายงาน
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ ( ˜ )
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ ( ˜ )
3.2.1 การมอบหมายงานให้ศึกษา ค้นคว้า และทำรายงานทางเอกสาร
3.2.2 การมอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ วางแผนก่อนการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ
3.2.3 คิดวิเคราะห์ปัญหาจากใช้ ใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
3.3.1 สอบกลางภาคและสอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการเข้าใจหลักการ และการวิเคราะห์ บรูณาการองค์ความรู้ในเนื้อหาของรายวิชา
3.3.2 ประเมินผลจากแผนการปฏิบัติงาน
3.3.3 ประเมินจากการนำเสนอผลงานที่เป็นระบบ
3.3.4 สังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม การแก้ไขปัญหาระหว่างการนำเสนอ
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี ( š )
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ ( š )
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม( š )
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม( š )
4.2.1 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.2 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 การประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 การประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 สังเกตพฤติกรรมการเป็นมีส่วนร่วมระหว่างการทำงานกลุ่ม และการนำเสนอ
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม ( š )
5.1.2 สามารถสืบค้นศึกษาวิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม(š )
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ( š )
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆ
5.2.2 นำเสนองานโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.3 มอบหมายให้นำเสนองานที่มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมนำเสนอผลงาน
5.3.3 ประเมินจากความชัดเจนของภาษา
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ( ˜ )
6.1.2 สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ปฏิบัติตามรูปแบบการสอน ประยุกต์วิธีการสอนใด้อย่างเหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้เรียนได้เป็นอย่างเหมาะสม ( š )
เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการต่างๆ ได้เหมาะสมกับเนื้อหาแต่ละประเภท
6.2.2  มอบหมายให้ประเมินและหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาที่นักศึกษาสร้างขึ้น
6.3.1  ประเมินผลงานของนักศึกษา
6.3.2  ประเมินจากการรายงานและนำเสนอ
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขฯ ุ6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 TEDEE124 ปฏิบัติงานซ่อมและบำรุงรักษาไฟฟ้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 70%
2 ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย ค้นคว้า การนำเสนอ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน/บันทึกงาน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.ชัยเชษฐ์  เพชรไทยและคณะ. การซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า. 23บุ๊คเซนต์เตอร์. กรุงเทพมหานคร
2.ประพันธ์ พิพัฒน์สุข และคณะ. งานบริการและซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า. สำนักพิมพ์ ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะกรุงเทพมหานคร:  โรงพิมพ์เจริญรุ่งเรืองการพิมพ์  2548.
3. สุทธิพงศ์ ศรีกรากรณ์. หลักการทำงานหาที่เสีย และซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน ซีเอ็ดยูเคชั่น. กรุงเทพมหานคร: 2540.
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

ทำการฝึกซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าที่กำหนดให้ในแต่ละสัปดาห์  นำเสนอสรุปผลการตรวจซ่อมเช็คอาการเสีย แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ โดยการจัดโครงการบริการวิชาการออกตรวจซ่อมเช็คให้กับชุมชน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ